Menu Close

Smart Farming ความท้าทายแห่งยุคสมัย

Smart Farming

Smart Farming ความท้าทายแห่งยุคสมัย

Smartfarm ความท้าทายแห่งยุคสมัยใหม่

          เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประวันในทุกวันนี้ จนมีคนกล่าวไว้ว่า ยุคนี้ Technology is everything โดยไม่ว่าจะมองไปทางด้านไหน ก็มีแต่คนที่ใช้เทคโนโลยีกันตลอดเวลา แม้แต่การทำการเกษตรเอง ในยุคปัจจุบันนี้ก็มีแนวคิดใหม่ในการทำการเกษตรขึ้นมา เรียกว่า Smart Farming ซึ่งกำเนิดจากวิถีของเกษตรกรในยุคใหม่ที่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ต้องการกลับไปพัฒนาบ้านเกิด ทำให้หลายคนเริ่มหันมาสนใจวิธีการทำการเกษตรแบบไฮเทค 

 

      ที่จะเข้าไปเปลี่ยนวิถีแบบเดิมๆ แต่การใช้เทคโนโลยีจำนวนมากก็มีข้อเสียที่ทำให้การทำ Smart Farm ไม่ประสบผลสำเร็จเช่นกัน เราสามารถอธิบายได้ง่ายๆ ว่า Smart Farming คือการทำการเกษตรอัจฉริยะที่นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการระบบการเพาะปลูกในทุก ๆ ขั้นตอน และสามารถควบคุมทุกอย่างได้ด้วยเทคโนโลยี เพื่อทำการตรวจสอบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และแก้ปัญหาการเพาะปลูกได้แบบ Real-Time 

 

     พร้อมกับสามารถแสดงผลข้อมูลการเจริญเติบโตและคาดการณ์ผลผลิตได้อย่างแม่นยำ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ประเทศไทยของเรายังคงอยู่ในจุดเริ่มต้นของการทำเท่านั้น เนื่องจากการทำ Smart Farming จำเป็นต้องมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ และได้รับการสนับสนุนจากหลายภาคส่วน อีกทั้งตัวเกษตรกรเองก็จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ พัฒนาตัวเอง และพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงจากวิถีเดิมที่เคยทำมา

 

อุปสรรคและความยากในการทำ SmartFarm

       เราเคยเข้าใจกันมาตลอดว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ทำให้เราสามารถทำอะไรหลาย ๆ อย่างได้ง่ายขึ้น แต่หากว่าได้ลองคิดกันอย่างถี่ด้วนจริง ๆ กว่าที่จะมาถึงจุดที่คนส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างแพร่หลายไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่าย โดยเฉพาะในภาคเกษตร ที่ใครหลายคนต่างเคยตั้งคำถามกันว่า ทำไมเกษตรกรไทยไม่ใช้เทคโนโลยี ทำไมเกษตกรไทยยังทำฟาร์มแบบเก่า ซึ่งคำถามเหล่านี้ต่างก็เป็นความท้าทายที่จำเป็นต้องหาทางช่วยเหลือและแก้ไข เพื่อให้เกษตรกรไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากยิ่งขึ้น

Smartlink

ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกษตรกรไทยไม่สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเต็มรูปแบบนั้น จริง ๆ แล้วมีจำนวนมาก และมีความซับซ้อนของปัญหาสูง แต่หากจะต้องการจำแนกอย่างกว้างๆ สามารถจำแนกปัญหาออกมาได้ดังนี้

 

        การลงทุนในนวัตกรรมทำให้เข้าถึงปลายทางได้ยาก: หลายครั้งที่เราเข้าใจไปว่านวัตกรรมจะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งนั่นเป็นแค่การมองไปถึงปลายทางของการใช้นวัตกรรม แต่หากมองกันอย่างละเอียด การที่คนทั่วไปจะสามารถใช้นวัตกรรมได้ จำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนในกระบวนการสร้างสภาพแวดล้อมให้ใช้นวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หากเราต้องการทำระบบให้น้ำอัตโนมัติ เพื่อควบคุมการให้น้ำในฟาร์มผ่านสมาร์ทโฟนได้ 

 

        ปัญหาที่จะเกิดขึ้นคือ ฟาร์มส่วนใหญ่ของเกษตรกรไทยจะใช้ระบบไฟบ้าน ซึ้งไม่สามารถตอบสนองกับปริมาณการใช้ไฟฟ้าของระบบได้อย่างเพียงพอ จำเป็นต้องมีการจ้างวิศวกรเพื่อออกแบบระบบไฟใหม่ให้เป็นระบบอุตสาหกรรม เสียทั้งเวลาและเงินทองจำนวนมาก กว่าที่ระบบการให้น้ำจะสามารถใช้งานได้จริง และยังต้องมีอีกหลายอย่างที่จำเป็นต้องวางแผน เช่น ระบบชลประทาน การวางผังไร่ การวางระบบท่อน้ำ ฯลฯ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ความรู้หลากหลายในการออกแบบและสร้างระบบเหล่านี้

UX – UI ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยใช้มา: ในการปรับระบบฟาร์มมาเป็น Smart Farming นั้น เรามักจินตนาการว่าทุกอย่างจะเป็นระบบที่มีข้อมูลที่ชัดเจน มีเทคโนโลยีชั้นสูง มีการให้ข้อมูลกลับมาสู่

 

        เกษตรกรแบบละเอียด ครบถ้วน แต่ในหลายๆ ครั้ง ข้อมูลหรือระบบในการใช้งานเหล่านั้นก็สูงและยากเกินกว่าที่คนทั่วไปจะสามารถใช้งานได้จริง ซึ่งจะทำให้การทำฟาร์มอัจฉริยะไม่ประสบผลสำเร็จ เพราะถึงแม้ว่าจะมีนวัตกรรมที่ดีพอ แต่ผู้ที่ใช้งานกลับเกิดความยุ่งยากในการเรียนรู้ที่จะใช้ รวมไปถึงความซับซ้อนของเทคโนโลยีก็มีสูงเกินกว่าผู้ที่ไม่เคยได้ศึกษาจะเข้ามาทำความเข้าใจได้ เพราะฉะนั้นการออกแบบระบบ Smart Farming จำเป็นต้องมองลงไปถึงความคุ้นชินเดิมของผู้ที่ใช้งานจริง เพื่อให้ความยุ่งยากในการเรียนรู้ไม่สูงเกินไป

 

         นวัตกรรมถูกสร้างจากหลายคน : เนื่องด้วยกระบวนการและขั้นตอนในการทำการเกษตรนั้นมีความหลากหลาย และผู้ผลิตเทคโนโลยีเองก็อาจไม่ได้มีความเชี่ยวชาญในทุกจุดของการทำการเกษตร ทำให้ในแต่ละขั้นตอนของการปลูก จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีของผู้ผลิตหลายๆ เจ้าเข้ามาใช้งานร่วมกัน ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นคือผู้ผลิตแต่ละเจ้าต่างก็มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ทำให้การเชื่อมโยงมีความยากลำบาก และอาจทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเลยก็เป็นได้

 
 
 

เครื่องสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link ) นั้นมีมากมายหลายแบบ ซึ่งจะถูกนำไปปรับใช้เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้ใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกัน เพราะฉะนั้นสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link ) ที่เราจะพูดถึงในวันนี้ คือ ตัวที่ถูกนำมาใช้งานในระบบฟาร์ม เพื่อช่วยให้เกษตกร สามารถบริหารจัดการฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ นิยามของสมาร์ทฟาร์ม ( Smart Farm) ชัดเจนขึ้น จากมีการปรับตัวโดยนำเทคโนโลยี สมัยใหม่มาปรับใช้ ในงานด้านการเกษตรและการทำฟาร์ม ทั้งฟาร์ม ไก่ หมู วัว และอื่นๆ

SMART-LINK

เครื่องสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link)

-ระบบสมาร์ทลิ้งมีการทำงานผ่านระบบ คลาวด์เซิร์ฟเวอร์ ( Cloud Server)
-เข้าใช้งานผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น โทรศัพท์ มือถือ แท็บเล็ต เป็นต้น
-มีความไวในการส่งข้อมูล
-เข้าใช้งานได้จากทุกที่ที่มีสัญญาณ อินเตอร์เน็ต (Internet)

 

เหตุผลที่ควรเลือกสมาร์ทลิ้ง (Smart Link)

1.ติดตั้งง่ายเพียงแค่มีสัญญาณโทรศัพท์
2.ประหยัดต้นทุน ไม่ต้องเดิน สายเครือข่ายเน็คเวิร์ค ซึ่งต้องใช้งบประมาณที่สูง และยุ่งยากเพราะต้องติดตั้ง
3.ดูผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต ที่เชื่อมสัญญาณอินเตอร์เน็ต
4.มีการโทรแจ้งมายังโทรศัพท์เจ้าหน้าที่เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในกรณีไฟฟ้าดับในฟาร์มเครื่องปั่นไฟฟ้าไม่ทำงาน Smart Link จะส่ง SMS และโทรศัพท์ไปยังผู้เกี่ยวข้อง 5 หมายเลข
5.ใช้งานง่ายมาก
6. สมาร์ทลิ้ง (Smart Link)เป็นโซลูชันฟาร์มอัจฉริยะที่ดีที่สุดอีกระบบเลยหละ

Smartlink

SMART LINK ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างไร

1.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการฟาร์ม
2.ช่วยเพิ่มความสะดวกสบาย ให้แก่เจ้าหน้าที่ในการติดตามสถานการณ์ภายในฟาร์มเช่น ดูค่าอุณหภูมิ ความชื่น และตั้งค่าการทำงานผ่านมือถือ หรือ ในกรณีที่เกิดไฟดับขึ้นแล้วเครื่อง ปั่นไฟสำรองไม่มีการทำงาน ทางระบบสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link )ก็จะส่งข้อความและโทรแจ้งมายังเจ้าหน้าที่ ตามหมายเลขที่ถูกลงทะเบียนไว้ในทันที

3.ทำให้ทราบถึงข้อมูล/แก้ไขข้อมูล ในช่วงเวลานั้นๆ แบบเรียลไทม์ โดยที่ไม่ต้องเข้าไปที่ฟาร์ม
4.ลดความยุ่งยากในการทำงานของเจ้าหน้าที่ได้
5.เจ้าหน้าที่ไม่จำเป็นต้องเข้าฟาร์มก็สามารถทราบข้อมูลภายในฟาร์มได้

 

#SmartLink  #Farm  #Monitoring 

#SmartLink  #Farm  #Management

#SmartLink  #Farm  #Controller

Facebook >> สมาร์ทลิ้ง

 

Smart Farming ความท้าทายแห่งยุคสมัย

           เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประวันในทุกวันนี้ จนมีคนกล่าวไว้ว่า ยุคนี้ Technology is everything โดยไม่ว่าจะมองไปทางด้านไหน ก็มีแต่คนที่ใช้เทคโนโลยีกันตลอดเวลา แม้แต่การทำการเกษตรเอง ในยุคปัจจุบันนี้ก็มีแนวคิดใหม่ในการทำการเกษตรขึ้นมา เรียกว่า Smart Farming ซึ่งกำเนิดจากวิถีของเกษตรกรในยุคใหม่ที่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ต้องการกลับไปพัฒนาบ้านเกิด ทำให้หลายคนเริ่มหันมาสนใจวิธีการทำการเกษตรแบบไฮเทค ที่จะเข้าไปเปลี่ยนวิถีแบบเดิมๆ แต่การใช้เทคโนโลยีจำนวนมากก็มีข้อเสียที่ทำให้การทำ Smart Farming ไม่ประสบผลสำเร็จเช่นกัน
 
         เราสามารถอธิบายได้ง่ายๆ ว่า Smart Farming คือการทำการเกษตรอัจฉริยะที่นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการระบบการเพาะปลูกในทุก ๆ ขั้นตอน และสามารถควบคุมทุกอย่างได้ด้วยเทคโนโลยี เพื่อทำการตรวจสอบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และแก้ปัญหาการเพาะปลูกได้แบบ Real-Time พร้อมกับสามารถแสดงผลข้อมูลการเจริญเติบโตและคาดการณ์ผลผลิตได้อย่างแม่นยำ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว 
 
ประเทศไทยของเรายังคงอยู่ในจุดเริ่มต้นของการทำเท่านั้น เนื่องจากการทำ Smart Farming จำเป็นต้องมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ และได้รับการสนับสนุนจากหลายภาคส่วน อีกทั้งตัวเกษตรกรเองก็จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ พัฒนาตัวเอง และพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงจากวิถีเดิมที่เคยทำมา 
 
อุปสรรคและความยากในการทำ Smart Farming
 
         เราเคยเข้าใจกันมาตลอดว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ทำให้เราสามารถทำอะไรหลาย ๆ อย่างได้ง่ายขึ้น แต่หากว่าได้ลองคิดกันอย่างถี่ด้วนจริง ๆ กว่าที่จะมาถึงจุดที่คนส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างแพร่หลายไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่าย โดยเฉพาะในภาคเกษตร ที่ใครหลายคนต่างเคยตั้งคำถามกันว่า ทำไมเกษตรกรไทยไม่ใช้เทคโนโลยี ทำไมเกษตกรไทยยังทำฟาร์มแบบเก่า ซึ่งคำถามเหล่านี้ต่างก็เป็นความท้าทายที่จำเป็นต้องหาทางช่วยเหลือและแก้ไข เพื่อให้เกษตรกรไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากยิ่งขึ้น
Smartlink
ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกษตรกรไทยไม่สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเต็มรูปแบบนั้น จริง ๆ แล้วมีจำนวนมาก และมีความซับซ้อนของปัญหาสูง แต่หากจะต้องการจำแนกอย่างกว้างๆ สามารถจำแนกปัญหาออกมาได้ดังนี้
 
การลงทุนในนวัตกรรมทำให้เข้าถึงปลายทางได้ยาก: หลายครั้งที่เราเข้าใจไปว่านวัตกรรมจะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งนั่นเป็นแค่การมองไปถึงปลายทางของการใช้นวัตกรรม แต่หากมองกันอย่างละเอียด การที่คนทั่วไปจะสามารถใช้นวัตกรรมได้ จำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนในกระบวนการสร้างสภาพแวดล้อมให้ใช้นวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หากเราต้องการทำระบบให้น้ำอัตโนมัติ เพื่อควบคุมการให้น้ำในฟาร์มผ่านสมาร์ทโฟนได้ 
 
          นวัตกรรมถูกสร้างจากหลายคน: เนื่องด้วยกระบวนการและขั้นตอนในการทำการเกษตรนั้นมีความหลากหลาย และผู้ผลิตเทคโนโลยีเองก็อาจไม่ได้มีความเชี่ยวชาญในทุกจุดของการทำการเกษตร ทำให้ในแต่ละขั้นตอนของการปลูก จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีของผู้ผลิตหลายๆ เจ้าเข้ามาใช้งานร่วมกัน ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นคือผู้ผลิตแต่ละเจ้าต่างก็มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ทำให้การเชื่อมโยงมีความยากลำบาก และอาจทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเลยก็เป็นได้
 
             ความคุ้มค่าในการลงทุนที่ไม่ชัดเจน: โดยส่วนใหญ่แล้ว เกษตรกรรายย่อยที่ทำอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก มักมีภาระในการดำเนินชีวิตอยู่แล้ว หากเขาจำเป็นต้องลงทุนในการทำระบบ Smart Farming ที่มีต้นทุนเริ่มต้นจำนวนมาก อีกทั้งยังมีต้นทุนแฝงในอนาคตที่ตามมาอีกจำนวนมาก อาจทำให้เกษตรกรรายย่อยไม่สามารถใช้เทคโนโลยีนี้ได้จริงเนื่องจากไม่สามารถลงทุนกับเทคโนโลยีได้      
 
ในตอนนี้ประเทศไทยเองก็เริ่มมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาทำระบบฟาร์มอัจฉริยะกันมากขึ้นแล้ว แต่ก็ยังเป็นเพียงกลุ่มเล็ก ๆ เท่านั้น และยังคงไม่แพร่หลายมากเนื่องด้วยปัญหาต่าง ๆ ทั้งในเรื่องต้นทุน การนำเข้าเครื่องมือ อุปกรณ์ และความคุ้มค่าในการผลิตที่อาจยังไม่เห็นชัดมาก แต่หากว่าเราสามารถพัฒนาเทคโนโลยีได้เองเพื่อทำให้ต้นทุนถูกลง Smart Farming ก็อาจเป็นสิ่งที่จะแพร่หลายในอนาคตได้อย่างไม่ยากเย็นจนเกินไป
 
หากต้นทุนของเทคโนโลยีต่ำลงมามากพอและเกษตรกรไทยได้รับการสนับสนุนในการเปลี่ยนผ่านมาใช้ระบบ Smart Farming กันอย่างแพร่หลาย ประเทศไทยสามารถที่จะควบคุมคุณภาพผลผลิตได้ตามที่ต้องการ ไม่ว่าจะควบคุมความหวาน ขนาด สีสัน และยังสามารถที่จะปลูกอะไรก็ได้บนโลกใบนี้ โดยจะเป็นการเพิ่มมูลค่าอย่างมากให้กับวงการเกษตรกรไทย
 
เหตุผลที่ควรเลือกสมาร์ทลิ้ง (Smart Link)
1.ติดตั้งง่ายเพียงแค่มีสัญญาณโทรศัพท์
2.ประหยัดต้นทุน ไม่ต้องเดิน สายเครือข่ายเน็คเวิร์ค ซึ่งต้องใช้งบประมาณที่สูง และยุ่งยากเพราะต้องติดตั้ง
3.ดูผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต ที่เชื่อมสัญญาณอินเตอร์เน็ต
4.มีการโทรแจ้งมายังโทรศัพท์เจ้าหน้าที่เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในกรณีไฟฟ้าดับในฟาร์มเครื่องปั่นไฟฟ้าไม่ทำงาน Smart Link จะส่ง SMS และโทรศัพท์ไปยังผู้เกี่ยวข้อง 5 หมายเลข
5.ใช้งานง่ายมาก
6. สมาร์ทลิ้ง (Smart Link)เป็นโซลูชันฟาร์มอัจฉริยะที่ดีที่สุดอีกระบบเลยหละ
Smartlink
SMART LINK ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
1.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการฟาร์ม
2.ช่วยเพิ่มความสะดวกสบาย ให้แก่เจ้าหน้าที่ในการติดตามสถานการณ์ภายในฟาร์มเช่น ดูค่าอุณหภูมิ ความชื่น และตั้งค่าการทำงานผ่านมือถือ หรือ ในกรณีที่เกิดไฟดับขึ้นแล้วเครื่อง ปั่นไฟสำรองไม่มีการทำงาน ทางระบบสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link )ก็จะส่งข้อความและโทรแจ้งมายังเจ้าหน้าที่ ตามหมายเลขที่ถูกลงทะเบียนไว้ในทันที
3.ทำให้ทราบถึงข้อมูล/แก้ไขข้อมูล ในช่วงเวลานั้นๆ แบบเรียลไทม์ โดยที่ไม่ต้องเข้าไปที่ฟาร์ม
4.ลดความยุ่งยากในการทำงานของเจ้าหน้าที่ได้
5.เจ้าหน้าที่ไม่จำเป็นต้องเข้าฟาร์มก็สามารถทราบข้อมูลภายในฟาร์มได้
 

#SmartLink  #Farm  #Monitoring 

#SmartLink  #Farm  #Management

#SmartLink  #Farm  #Controller

Facebook >> สมาร์ทลิ้ง

 

Smart Farming ความท้าทายแห่งยุคสมัย

 
เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประวันในทุกวันนี้ จนมีคนกล่าวไว้ว่า ยุคนี้ Technology is everything โดยไม่ว่าจะมองไปทางด้านไหน ก็มีแต่คนที่ใช้เทคโนโลยีกันตลอดเวลา แม้แต่การทำการเกษตรเอง ในยุคปัจจุบันนี้ก็มีแนวคิดใหม่ในการทำการเกษตรขึ้นมา
 
 เรียกว่า Smart Farming ซึ่งกำเนิดจากวิถีของเกษตรกรในยุคใหม่ที่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ต้องการกลับไปพัฒนาบ้านเกิด ทำให้หลายคนเริ่มหันมาสนใจวิธีการทำการเกษตรแบบไฮเทค ที่จะเข้าไปเปลี่ยนวิถีแบบเดิมๆ แต่การใช้เทคโนโลยีจำนวนมากก็มีข้อเสียที่ทำให้การทำ Smart Farming ไม่ประสบผลสำเร็จเช่นกัน
 
 
เราสามารถอธิบายได้ง่ายๆ ว่า Smart Farming คือการทำการเกษตรอัจฉริยะที่นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการระบบการเพาะปลูกในทุก ๆ ขั้นตอน และสามารถควบคุมทุกอย่างได้ด้วยเทคโนโลยี เพื่อทำการตรวจสอบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และแก้ปัญหาการเพาะปลูกได้แบบ Real-Time 
 
พร้อมกับสามารถแสดงผลข้อมูลการเจริญเติบโตและคาดการณ์ผลผลิตได้อย่างแม่นยำ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ประเทศไทยของเรายังคงอยู่ในจุดเริ่มต้นของการทำเท่านั้น เนื่องจากการทำ Smart Farming จำเป็นต้องมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ และได้รับการสนับสนุนจากหลายภาคส่วน อีกทั้งตัวเกษตรกรเองก็จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ พัฒนาตัวเอง และพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงจากวิถีเดิมที่เคยทำมา
 
อุปสรรคและความยากในการทำ Smart Farming
 
เราเคยเข้าใจกันมาตลอดว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ทำให้เราสามารถทำอะไรหลาย ๆ อย่างได้ง่ายขึ้น แต่หากว่าได้ลองคิดกันอย่างถี่ด้วนจริง ๆ กว่าที่จะมาถึงจุดที่คนส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างแพร่หลายไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ง่าย โดยเฉพาะในภาคเกษตร ที่ใครหลายคนต่างเคยตั้งคำถามกันว่า ทำไมเกษตรกรไทยไม่ใช้เทคโนโลยี ทำไมเกษตกรไทยยังทำฟาร์มแบบเก่า ซึ่งคำถามเหล่านี้ต่างก็เป็นความท้าทายที่จำเป็นต้องหาทางช่วยเหลือและแก้ไข เพื่อให้เกษตรกรไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากยิ่งขึ้น
Smartlink
ปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้เกษตรกรไทยไม่สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเต็มรูปแบบนั้น จริง ๆ แล้วมีจำนวนมาก และมีความซับซ้อนของปัญหาสูง แต่หากจะต้องการจำแนกอย่างกว้างๆ สามารถจำแนกปัญหาออกมาได้ดังนี้
 
การลงทุนในนวัตกรรมทำให้เข้าถึงปลายทางได้ยาก: หลายครั้งที่เราเข้าใจไปว่านวัตกรรมจะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งนั่นเป็นแค่การมองไปถึงปลายทางของการใช้นวัตกรรม แต่หากมองกันอย่างละเอียด การที่คนทั่วไปจะสามารถใช้นวัตกรรมได้ จำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนในกระบวนการสร้างสภาพแวดล้อมให้ใช้นวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หากเราต้องการทำระบบให้น้ำอัตโนมัติ เพื่อควบคุมการให้น้ำในฟาร์มผ่านสมาร์ทโฟนได้ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นคือ 
 
ฟาร์มส่วนใหญ่ของเกษตรกรไทยจะใช้ระบบไฟบ้าน ซึ้งไม่สามารถตอบสนองกับปริมาณการใช้ไฟฟ้าของระบบได้อย่างเพียงพอ จำเป็นต้องมีการจ้างวิศวกรเพื่อออกแบบระบบไฟใหม่ให้เป็นระบบอุตสาหกรรม เสียทั้งเวลาและเงินทองจำนวนมาก กว่าที่ระบบการให้น้ำจะสามารถใช้งานได้จริง และยังต้องมีอีกหลายอย่างที่จำเป็นต้องวางแผน เช่น ระบบชลประทาน การวางผังไร่ การวางระบบท่อน้ำ ฯลฯ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ความรู้หลากหลายในการออกแบบและสร้างระบบเหล่านี้
 
UX – UI ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เคยใช้มา: ในการปรับระบบฟาร์มมาเป็น Smart Farming นั้น เรามักจินตนาการว่าทุกอย่างจะเป็นระบบที่มีข้อมูลที่ชัดเจน มีเทคโนโลยีชั้นสูง มีการให้ข้อมูลกลับมาสู่เกษตรกรแบบละเอียด ครบถ้วน แต่ในหลายๆ ครั้ง ข้อมูลหรือระบบในการใช้งานเหล่านั้นก็สูงและยากเกินกว่าที่คนทั่วไปจะสามารถใช้งานได้จริง 
 
ซึ่งจะทำให้การทำฟาร์มอัจฉริยะไม่ประสบผลสำเร็จ เพราะถึงแม้ว่าจะมีนวัตกรรมที่ดีพอ แต่ผู้ที่ใช้งานกลับเกิดความยุ่งยากในการเรียนรู้ที่จะใช้ รวมไปถึงความซับซ้อนของเทคโนโลยีก็มีสูงเกินกว่าผู้ที่ไม่เคยได้ศึกษาจะเข้ามาทำความเข้าใจได้ เพราะฉะนั้นการออกแบบระบบ Smart Farming จำเป็นต้องมองลงไปถึงความคุ้นชินเดิมของผู้ที่ใช้งานจริง เพื่อให้ความยุ่งยากในการเรียนรู้ไม่สูงเกินไป
 
นวัตกรรมถูกสร้างจากหลายคน: เนื่องด้วยกระบวนการและขั้นตอนในการทำการเกษตรนั้นมีความหลากหลาย และผู้ผลิตเทคโนโลยีเองก็อาจไม่ได้มีความเชี่ยวชาญในทุกจุดของการทำการเกษตร ทำให้ในแต่ละขั้นตอนของการปลูก จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีของผู้ผลิตหลายๆ เจ้าเข้ามาใช้งานร่วมกัน ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นคือผู้ผลิตแต่ละเจ้าต่างก็มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ทำให้การเชื่อมโยงมีความยากลำบาก และอาจทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเลยก็เป็นได้
 
ความคุ้มค่าในการลงทุนที่ไม่ชัดเจน: โดยส่วนใหญ่แล้ว เกษตรกรรายย่อยที่ทำอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก มักมีภาระในการดำเนินชีวิตอยู่แล้ว หากเขาจำเป็นต้องลงทุนในการทำระบบ Smart Farming ที่มีต้นทุนเริ่มต้นจำนวนมาก อีกทั้งยังมีต้นทุนแฝงในอนาคตที่ตามมาอีกจำนวนมาก อาจทำให้เกษตรกรรายย่อยไม่สามารถใช้เทคโนโลยีนี้ได้จริงเนื่องจากไม่สามารถลงทุนกับเทคโนโลยีได้
 
SMART-LINK
 
เครื่องสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link)
 
-ระบบสมาร์ทลิ้งมีการทำงานผ่านระบบ คลาวด์เซิร์ฟเวอร์ ( Cloud Server)
-เข้าใช้งานผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น โทรศัพท์ มือถือ แท็บเล็ต เป็นต้น
-มีความไวในการส่งข้อมูล
-เข้าใช้งานได้จากทุกที่ที่มีสัญญาณ อินเตอร์เน็ต (Internet)
 
เหตุผลที่ควรเลือกสมาร์ทลิ้ง (Smart Link)
 
1.ติดตั้งง่ายเพียงแค่มีสัญญาณโทรศัพท์
2.ประหยัดต้นทุน ไม่ต้องเดิน สายเครือข่ายเน็คเวิร์ค ซึ่งต้องใช้งบประมาณที่สูง และยุ่งยากเพราะต้องติดตั้ง
3.ดูผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต ที่เชื่อมสัญญาณอินเตอร์เน็ต
 
4.มีการโทรแจ้งมายังโทรศัพท์เจ้าหน้าที่เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในกรณีไฟฟ้าดับในฟาร์มเครื่องปั่นไฟฟ้าไม่ทำงาน Smart Link จะส่ง SMS และโทรศัพท์ไปยังผู้เกี่ยวข้อง 5 หมายเลข
5.ใช้งานง่ายมาก
6. สมาร์ทลิ้ง (Smart Link)เป็นโซลูชันฟาร์มอัจฉริยะที่ดีที่สุดอีกระบบเลยหละ
Smartlink
SMART LINK ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
 
1.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการฟาร์ม
2.ช่วยเพิ่มความสะดวกสบาย ให้แก่เจ้าหน้าที่ในการติดตามสถานการณ์ภายในฟาร์มเช่น ดูค่าอุณหภูมิ ความชื่น และตั้งค่าการทำงานผ่านมือถือ หรือ ในกรณีที่เกิดไฟดับขึ้นแล้วเครื่อง ปั่นไฟสำรองไม่มีการทำงาน ทางระบบสมาร์ทลิ้ง ( Smart Link )ก็จะส่งข้อความและโทรแจ้งมายังเจ้าหน้าที่ ตามหมายเลขที่ถูกลงทะเบียนไว้ในทันที
3.ทำให้ทราบถึงข้อมูล/แก้ไขข้อมูล ในช่วงเวลานั้นๆ แบบเรียลไทม์ โดยที่ไม่ต้องเข้าไปที่ฟาร์ม
4.ลดความยุ่งยากในการทำงานของเจ้าหน้าที่ได้
5.เจ้าหน้าที่ไม่จำเป็นต้องเข้าฟาร์มก็สามารถทราบข้อมูลภายในฟาร์มได้
 
#SmartLink  #Farm  #Monitoring 
#SmartLink  #Farm  #Management
#SmartLink  #Farm  #Controller
Facebook >> สมาร์ทลิ้ง
 
Posted in สาระน่ารู้

Related Posts

error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!