สมาร์ทฟาร์ม Smartfarm คืออะไร
สมาร์ทฟาร์ม (Smart farm) เป็นนวัตกรรมที่สนับสนุนให้เกษตรกรและผู้ประกอบการใช้นวัตกรรมด้านการเกษตรมากขึ้น เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตและพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืนในอนาคต โดยรายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับสมาร์ทฟาร์ม มีดังนี้
เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการทำเกษตรแบบใหม่ที่จะทำให้การทำไร่ทำนามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการนำข้อมูลของภูมิอากาศทั้งในระดับพื้นที่ย่อย (Microclimate) ระดับไร่ (Mesoclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มาใช้ในการบริหารจัดการ
ดูแลพื้นที่เพาะปลูก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพอากาศที่เกิดขึ้น รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต โดยได้รับการขนานนามว่า เกษตรกรรมความแม่นยำสูง หรือ เกษตรแม่นยำสูง (Precision Agriculture) ซึ่งเป็นที่นิยมกันมากในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเริ่มแพร่หลายเข้าไปในหลายประเทศ ทั้งยุโรป ญี่ปุ่น มาเลเซีย และอินเดีย

แนวคิดหลักของสมาร์ทฟาร์ม คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรไปจนถึงผู้บริโภค เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิต ลดต้นทุน รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสินค้า สมาร์ทฟาร์มเป็นความพยายามยกระดับการพัฒนาเกษตรกรรม 4 ด้านที่สำคัญ ได้แก่
(1) การลดต้นทุนในกระบวนการผลิต
(2) การเพิ่มคุณภาพมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานสินค้า
(3) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่งเกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและจากภัยธรรมชาติ
(4) การจัดการและส่งผ่านความรู้ โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศจากการวิจัยไปประยุกต์สู่การพัฒนาในทาง
ปฏิบัติ และให้ความสำคัญต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่ง
เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการทำสมาร์ทฟาร์ม
ได้แก่ Remote Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะไกล เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลพื้นที่ โดยอาศัยคลื่นแสงในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น เรดาห์ ไมโครเวฟ วิทยุ เป็นต้น อุปกรณ์รับรู้เหล่านี้มักจะติดตั้งบนอากาศยาน หรือดาวเทียม
Proximal Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะใกล้ อาศัยเซ็นเซอร์วัดข้อมูลต่างๆ ได้โดยตรงในจุดที่สนใจ เช็นเซ็นเซอร์ตรวจอากาศ (Weather Station) เซ็นเซอร์วัดดิน (Soil Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจโรคพืช (Plant Disease Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจวัดผลผลิต (Yield Monitoring Sensor) เป็นต้น
เซ็นเซอร์เหล์านี้สามารถนํามาวางเป็นระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Sensor Network) โดยนําไปติดตั้งหรือปล่อยในพื้นที่ไร่นา เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ความชื้นในดิน อุณหภูมิ ปริมาณแสง และสารเคมี
Variable Rate Technology (VRT) หรือเทคโนโลยีการให้ปุ๋ย น้ำ ยาฆ่าแมลง ตามสภาพความแตกต่างของพื้นที่ โดยมักจะใช้ร่วมกับเทคโนโลยี GPS
Crop Models and Decision Support System (DSS) เป็นเทคโนโลยีที่บูรณาการเทคโนโลยีทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะทําอะไรกับฟาร์ม เมื่อไร อย่างไร รวมถึงยังสามารถทํานายผลผลิตได้ด้วย
การทําสมาร์ทฟาร์มในประเทศไทยอาจมีข้อจำกัด เนื่องจากระบบเทคโนโลยีบางชนิดยังมีประสิทธิภาพไม่ดี เช่น ระบบ GPS และ GIS ต้องใช้เงินในการลงทุนสูง รวมถึงเกษตรกรขาดความชำนาญในการใช้เครื่องมือ
แต่เมื่อโลกเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ สังคม ตลอดจนองค์ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ที่มีการแลกเปลี่ยนส่งผ่านกันอย่างรวดเร็วไปทั่วทุกภูมิภาค เกษตรกรไทยจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองตามสภาพการดำเนินชีวิต การเปิดรับ เรียนรู้ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อพาตัวเองก้าวสู่การเป็นเกษตรกรคุณภาพ (Smart farmer) ตามนโยบายและแนวทางปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ว่า การพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart farmer
ประโยชน์ของการทำการเกษตรแบบ Smart Farm
ลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากงานบางส่วนจะมีการใช้เทคโนโลยี เช่น โดรน หุ่นยนต์ รถไถอัตโนมัติ เข้ามาช่วย ดังนั้นจะลดภาระงานของคนโดยรวมได้
ได้สินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น การใช้เครื่องมือที่มีความแม่นยำสูงเข้ามาช่วย จะทำให้เกษตรกรสามารถเพิ่มคุณภาพของสินค้าได้ ผ่านการปรับปรุงพันธุ์ ปรับสัดส่วนปุ๋ย การให้น้ำ การให้แสง เป็นต้น
ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยการทำงานที่มีการเก็บข้อมูลอยู่ตลอดและการจัดการในรูปแบบ Zero Waste ทำให้เกษตรกรสามารถคำนวณพื้นที่การปลูก รูปแบบพันธุกรรมต่างๆ ให้มีคุณภาพที่ดี ตามต้องการของผู้บริคในลักษณะต่างๆ หรือในลักษณะ customization เพื่อขายได้ในราคาที่เหมาะสม ไม่ล้นตลาด มีการขายที่ง่ายขึ้น ในปัจจุบันชาวนาชาวสวนสามารถเข้าถึงการขายได้ง่ายผ่านการตลาดออนไลน์ในแอปพลิเคชันต่างๆ โดยการสนับสนุนจากภาครัฐหรือบริษัทเอกชน
ชัดเจนว่าการนำระบบ Smart Farm มาประยุกต์ใช้นั้นได้ประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะประเทศไทยที่การทำเกษตรยังคงเป็นหัวใจหลักของประชาชน ทว่าในการทำงานจริงนั้นอาจไม่ได้สวยงามเสมอไป ซึ่งการทำงานดังกล่าวมีความเป็นไปได้ดังนี้
Smart Farmer ในไทยและการทำงานจริง
สิ่งหนึ่งที่ต้องยอมรับสำหรับการทำงานด้วย Smart Farm คือ การเข้าถึงเทคโนโลยีและะระบบดิจิทัลต่างๆ ยังคงเป็นอุปสรรคกับพี่น้องเกษตรกรอยู่ไม่น้อย จนสามารถกล่าวได้ว่าแนวคิดนี้ยังต้องใช้เวลาอีกมากสำหรับการประยุกต์ใช้งานจริง
ขณะเดียวกัน ในหน่วยงานทั้งจากภาครัฐและเอกชนก็มีการลงทุนในด้านเทคโนโลยีนี้เพื่อทำให้การผลิตภายในประเทศดีขึ้น เช่นบริษัท เอไอ โรโบติกส์ เวนเจอร์ ในเครือ PTTEP ได้ร่วมลงทุนในการสร้างระบบโดรนนวัตกรรมการเกษตร พร้อมบริการครบวงจร รวมถึงระบบการเก็บข้อมูล เพื่อทำให้ทางเกษตรกรเข้าถึงเครื่องมือชนิดนี้ได้ง่ายขึ้น
แน่นอนว่าการใช้งานอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ระบบ IoT และการใช้ Robotics ในการเกษตร รวมถึง Smart Farmer เองก็ยังเป็นหนึ่งในหัวข้อสำคัญสำหรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีด้วย คาดว่าหลังจากนี้ในส่วนของการเกษตรจะมีการใช้งานเทคโนโลยีต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างเป็นนัยสำคัญอย่างแน่นอน
สรุป
การทำการเกษตรแบบ Smart Farmer นั้นมีส่วนช่วยอย่างมากในการยกระดับคุณภาพชีวิตของพี่น้องเกษตรกร ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ รวมถึงทำให้ผู้บริโภคได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ทว่าในสถานการณ์ปัจจุบัน ยังคงเป็นเรื่องยากที่จะกระจายเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลรวมถึงบอกเล่าความรู้เหล่านั้นไปสู่มือของเกษตรกร จึงอาจเป็นหน้าที่ของทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแลและสนับสนุนในระยะยาว เพื่อทำให้การเกษตรแบบอัจฉริยะนี้กลายเป็นหนึ่งในหนทางพัฒนาคุณภาพของประเทศไทยในอนาคต
ตัวอย่างของ Smart Farmer
การใช้เทคโนโลยี GPS เพื่อตรวจสอบพื้นที่การเกษตรและเทคโนโลยีจัดการข้อมูลเพื่อตรวจสอบสภาพภูมิอากาศในออสเตรเลีย ทำให้เกษตรกรสามารถคาดเดาการรดน้ำใส่ปุ๋ยให้พืชผลของตนเองได้
การเกษตรของญี่ปุ่น ที่ภาครัฐและมหาวิทยาลัยได้มีการศึกษาแนวคิดรถแทร็กเตอร์ไร้คนขับ เพื่อนำมาใช้งานแทนแรงงานคน โดยรถแทร็กเตอร์นี้จะสามารถทำงานได้ทั้งการไถ หว่าน ให้ปุ๋ย จนถึงการเก็บเกี่ยว
การนำเทคโนโลยี Big Data มาประยุกต์ใช้ในฟาร์มญี่ปุ่น เพื่อรวบรวมข้อมูลการปลูกพืชทั้งหมด มาวิเคราะห์ว่าการทำการเกษตรแบบไหนสามารถให้ผลตอบแทนได้ดีที่สุด
เห็นได้ชัดว่าการทำการเกษตรด้วยแนวคิด Smart Farmer นั้นครอบคลุมตั้งแต่การวางแผนก่อนการหว่านเมล็ด จนถึงการขายสินค้า ทำให้เกษตรกรสามารถลดภาระของตัวเองได้ ด้วยการลงทุนในระบบที่ดีในระยะยาว

TEMP CLIMATE CONTROLLER
ทางเลือกที่ชาญฉลาด เป็นมิตร และคุ้มค่าต่อการลงทุน
ไม่ว่าคุณจะเลี้ยงสัตว์ปีก สุกร หรือปศุสัตว์และการเกษตรอื่นๆ ให้ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายของเราเป็นตัวช่วยเพื่อผลผลิตที่สูงขึ้น ด้วยต้นทุนที่ต่ำลง และการเลี้ยงที่เป็นระบบ
ชุดควบคุมสภาพอากาศที่ใช้ในโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ( Climate Controller ) และ
ฮีตเตอร์ ใช้ในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น การเพาะปลูกในเรือนกระจก ( Greenhouse ) และ
การเลี้ยงสัตว์ในระบบโรงเรือนแบบปรับอากาศ ( Evaporative Greenhouse ) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในระบบบการเกษตรอัจฉริยะ หรือ Smart Farming
อ่านเพิ่ม >> คุณสมบัติ
สอบถามเพิ่มเติม >> https://www.facebook.com/swf1998
สมาร์ทฟาร์ม Smartfarm คืออะไร
สมาร์ทฟาร์ม คืออะไร
สมาร์ทฟาร์ม (Smart farm) เป็นนวัตกรรมที่สนับสนุนให้เกษตรกรและผู้ประกอบการใช้นวัตกรรมด้านการเกษตรมากขึ้น เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตและพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืนในอนาคต โดยรายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ สมาร์ทฟาร์ม มีดังนี้
สมาร์ฟาร์ม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการทำเกษตรแบบใหม่ที่จะทำให้การทำไร่ทำนามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการนำข้อมูลของภูมิอากาศทั้งในระดับพื้นที่ย่อย (Microclimate) ระดับไร่ (Mesoclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มาใช้ในการบริหารจัดการ
ดูแลพื้นที่เพาะปลูก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพอากาศที่เกิดขึ้น รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต โดยได้รับการขนานนามว่า เกษตรกรรมความแม่นยำสูง หรือ เกษตรแม่นยำสูง (Precision Agriculture) ซึ่งเป็นที่นิยมกันมากในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเริ่มแพร่หลายเข้าไปในหลายประเทศ ทั้งยุโรป ญี่ปุ่น มาเลเซีย และอินเดีย
แนวคิดหลักของสมาร์ทฟาร์ม คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรไปจนถึงผู้บริโภค เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิต ลดต้นทุน รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสินค้า สมาร์ทฟาร์มเป็นความพยายามยกระดับการพัฒนาเกษตรกรรม 4 ด้านที่สำคัญ ได้แก่
(1) การลดต้นทุนในกระบวนการผลิต
(2) การเพิ่มคุณภาพมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานสินค้า
(3) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่งเกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและจากภัยธรรมชาติ
(4) การจัดการและส่งผ่านความรู้ โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศจากการวิจัยไปประยุกต์สู่การพัฒนาในทาง
ปฏิบัติ และให้ความสำคัญต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่ง
เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการทำสมาร์ทฟาร์ม
ได้แก่ Remote Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะไกล เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลพื้นที่ โดยอาศัยคลื่นแสงในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น เรดาห์ ไมโครเวฟ วิทยุ เป็นต้น อุปกรณ์รับรู้เหล่านี้มักจะติดตั้งบนอากาศยาน หรือดาวเทียม
Proximal Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะใกล้ อาศัยเซ็นเซอร์วัดข้อมูลต่างๆ ได้โดยตรงในจุดที่สนใจ เช็นเซ็นเซอร์ตรวจอากาศ (Weather Station) เซ็นเซอร์วัดดิน (Soil Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจโรคพืช (Plant Disease Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจวัดผลผลิต (Yield Monitoring Sensor) เป็นต้น
เซ็นเซอร์เหล์านี้สามารถนํามาวางเป็นระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Sensor Network) โดยนําไปติดตั้งหรือปล่อยในพื้นที่ไร่นา เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ความชื้นในดิน อุณหภูมิ ปริมาณแสง และสารเคมี
Variable Rate Technology (VRT) หรือเทคโนโลยีการให้ปุ๋ย น้ำ ยาฆ่าแมลง ตามสภาพความแตกต่างของพื้นที่ โดยมักจะใช้ร่วมกับเทคโนโลยี GPS
Crop Models and Decision Support System (DSS) เป็นเทคโนโลยีที่บูรณาการเทคโนโลยีทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะทําอะไรกับฟาร์ม เมื่อไร อย่างไร รวมถึงยังสามารถทํานายผลผลิตได้ด้วย
การทําสมาร์ทฟาร์มในประเทศไทยอาจมีข้อจำกัด เนื่องจากระบบเทคโนโลยีบางชนิดยังมีประสิทธิภาพไม่ดี เช่น ระบบ GPS และ GIS ต้องใช้เงินในการลงทุนสูง รวมถึงเกษตรกรขาดความชำนาญในการใช้เครื่องมือ
แต่เมื่อโลกเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ สังคม ตลอดจนองค์ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ที่มีการแลกเปลี่ยนส่งผ่านกันอย่างรวดเร็วไปทั่วทุกภูมิภาค เกษตรกรไทยจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองตามสภาพการดำเนินชีวิต การเปิดรับ เรียนรู้ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อพาตัวเองก้าวสู่การเป็นเกษตรกรคุณภาพ (Smart farmer) ตามนโยบายและแนวทางปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ว่า การพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart farmer
ประโยชน์ของการทำการเกษตรแบบ Smart Farm
ลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากงานบางส่วนจะมีการใช้เทคโนโลยี เช่น โดรน หุ่นยนต์ รถไถอัตโนมัติ เข้ามาช่วย ดังนั้นจะลดภาระงานของคนโดยรวมได้
ได้สินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น การใช้เครื่องมือที่มีความแม่นยำสูงเข้ามาช่วย จะทำให้เกษตรกรสามารถเพิ่มคุณภาพของสินค้าได้ ผ่านการปรับปรุงพันธุ์ ปรับสัดส่วนปุ๋ย การให้น้ำ การให้แสง เป็นต้น
ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยการทำงานที่มีการเก็บข้อมูลอยู่ตลอดและการจัดการในรูปแบบ Zero Waste ทำให้เกษตรกรสามารถคำนวณพื้นที่การปลูก รูปแบบพันธุกรรมต่างๆ ให้มีคุณภาพที่ดี ตามต้องการของผู้บริคในลักษณะต่างๆ หรือในลักษณะ customization เพื่อขายได้ในราคาที่เหมาะสม ไม่ล้นตลาด
มีการขายที่ง่ายขึ้น ในปัจจุบันชาวนาชาวสวนสามารถเข้าถึงการขายได้ง่ายผ่านการตลาดออนไลน์ในแอปพลิเคชันต่างๆ โดยการสนับสนุนจากภาครัฐหรือบริษัทเอกชน
ชัดเจนว่าการนำระบบ Smart Farm มาประยุกต์ใช้นั้นได้ประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะประเทศไทยที่การทำเกษตรยังคงเป็นหัวใจหลักของประชาชน ทว่าในการทำงานจริงนั้นอาจไม่ได้สวยงามเสมอไป ซึ่งการทำงานดังกล่าวมีความเป็นไปได้ดังนี้
Smart Farmer ในไทยและการทำงานจริง
สิ่งหนึ่งที่ต้องยอมรับสำหรับการทำงานด้วย Smart Farm คือ การเข้าถึงเทคโนโลยีและะระบบดิจิทัลต่างๆ ยังคงเป็นอุปสรรคกับพี่น้องเกษตรกรอยู่ไม่น้อย จนสามารถกล่าวได้ว่าแนวคิดนี้ยังต้องใช้เวลาอีกมากสำหรับการประยุกต์ใช้งานจริง
ขณะเดียวกัน ในหน่วยงานทั้งจากภาครัฐและเอกชนก็มีการลงทุนในด้านเทคโนโลยีนี้เพื่อทำให้การผลิตภายในประเทศดีขึ้น เช่นบริษัท เอไอ โรโบติกส์ เวนเจอร์ ในเครือ PTTEP ได้ร่วมลงทุนในการสร้างระบบโดรนนวัตกรรมการเกษตร พร้อมบริการครบวงจร รวมถึงระบบการเก็บข้อมูล เพื่อทำให้ทางเกษตรกรเข้าถึงเครื่องมือชนิดนี้ได้ง่ายขึ้น
แน่นอนว่าการใช้งานอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ระบบ IoT และการใช้ Robotics ในการเกษตร รวมถึง Smart Farmer เองก็ยังเป็นหนึ่งในหัวข้อสำคัญสำหรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีด้วย คาดว่าหลังจากนี้ในส่วนของการเกษตรจะมีการใช้งานเทคโนโลยีต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างเป็นนัยสำคัญอย่างแน่นอน
สรุป
การทำการเกษตรแบบ Smart Farmer นั้นมีส่วนช่วยอย่างมากในการยกระดับคุณภาพชีวิตของพี่น้องเกษตรกร ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ รวมถึงทำให้ผู้บริโภคได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ทว่าในสถานการณ์ปัจจุบัน ยังคงเป็นเรื่องยากที่จะกระจายเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลรวมถึงบอกเล่าความรู้เหล่านั้นไปสู่มือของเกษตรกร จึงอาจเป็นหน้าที่ของทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแลและสนับสนุนในระยะยาว เพื่อทำให้การเกษตรแบบอัจฉริยะนี้กลายเป็นหนึ่งในหนทางพัฒนาคุณภาพของประเทศไทยในอนาคต
ตัวอย่างของ Smart Farmer
การใช้เทคโนโลยี GPS เพื่อตรวจสอบพื้นที่การเกษตรและเทคโนโลยีจัดการข้อมูลเพื่อตรวจสอบสภาพภูมิอากาศในออสเตรเลีย ทำให้เกษตรกรสามารถคาดเดาการรดน้ำใส่ปุ๋ยให้พืชผลของตนเองได้
การเกษตรของญี่ปุ่น ที่ภาครัฐและมหาวิทยาลัยได้มีการศึกษาแนวคิดรถแทร็กเตอร์ไร้คนขับ เพื่อนำมาใช้งานแทนแรงงานคน โดยรถแทร็กเตอร์นี้จะสามารถทำงานได้ทั้งการไถ หว่าน ให้ปุ๋ย จนถึงการเก็บเกี่ยว
การนำเทคโนโลยี Big Data มาประยุกต์ใช้ในฟาร์มญี่ปุ่น เพื่อรวบรวมข้อมูลการปลูกพืชทั้งหมด มาวิเคราะห์ว่าการทำการเกษตรแบบไหนสามารถให้ผลตอบแทนได้ดีที่สุด
เห็นได้ชัดว่าการทำการเกษตรด้วยแนวคิด Smart Farmer นั้นครอบคลุมตั้งแต่การวางแผนก่อนการหว่านเมล็ด จนถึงการขายสินค้า ทำให้เกษตรกรสามารถลดภาระของตัวเองได้ ด้วยการลงทุนในระบบที่ดีในระยะยาว
TEMP CLIMATE CONTROLLER
ทางเลือกที่ชาญฉลาด เป็นมิตร และคุ้มค่าต่อการลงทุน
ไม่ว่าคุณจะเลี้ยงสัตว์ปีก สุกร หรือปศุสัตว์และการเกษตรอื่นๆ ให้ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายของเราเป็นตัวช่วยเพื่อผลผลิตที่สูงขึ้น ด้วยต้นทุนที่ต่ำลง และการเลี้ยงที่เป็นระบบ
ชุดควบคุมสภาพอากาศที่ใช้ในโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ( Climate Controller ) และ
ฮีตเตอร์ ใช้ในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น การเพาะปลูกในเรือนกระจก ( Greenhouse ) และ
การเลี้ยงสัตว์ในระบบโรงเรือนแบบปรับอากาศ ( Evaporative Greenhouse ) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในระบบบการเกษตรอัจฉริยะ หรือ Smart Farming
อ่านเพิ่ม >> คุณสมบัติ
สอบถามเพิ่มเติม >> https://www.facebook.com/swf1998
สมาร์ทฟาร์ม Smartfarm คืออะไร
สมาร์ทฟาร์ม คืออะไร
สมาร์ทฟาร์ม (Smart farm) เป็นนวัตกรรมที่สนับสนุนให้เกษตรกรและผู้ประกอบการใช้นวัตกรรมด้านการเกษตรมากขึ้น เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตและพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืนในอนาคต โดยรายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ สมาร์ทฟาร์ม มีดังนี้
สมาร์ฟาร์ม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการทำเกษตรแบบใหม่ที่จะทำให้การทำไร่ทำนามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการนำข้อมูลของภูมิอากาศทั้งในระดับพื้นที่ย่อย (Microclimate) ระดับไร่ (Mesoclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มาใช้ในการบริหารจัดการ
ดูแลพื้นที่เพาะปลูก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพอากาศที่เกิดขึ้น รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต โดยได้รับการขนานนามว่า เกษตรกรรมความแม่นยำสูง หรือ เกษตรแม่นยำสูง (Precision Agriculture) ซึ่งเป็นที่นิยมกันมากในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเริ่มแพร่หลายเข้าไปในหลายประเทศ ทั้งยุโรป ญี่ปุ่น มาเลเซีย และอินเดีย
แนวคิดหลักของสมาร์ทฟาร์ม คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรไปจนถึงผู้บริโภค เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิต ลดต้นทุน รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสินค้า สมาร์ทฟาร์มเป็นความพยายามยกระดับการพัฒนาเกษตรกรรม 4 ด้านที่สำคัญ ได้แก่
(1) การลดต้นทุนในกระบวนการผลิต
(2) การเพิ่มคุณภาพมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานสินค้า
(3) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่งเกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและจากภัยธรรมชาติ
(4) การจัดการและส่งผ่านความรู้ โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศจากการวิจัยไปประยุกต์สู่การพัฒนาในทาง
ปฏิบัติ และให้ความสำคัญต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่ง
เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการทำสมาร์ทฟาร์ม
ได้แก่ Remote Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะไกล เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลพื้นที่ โดยอาศัยคลื่นแสงในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น เรดาห์ ไมโครเวฟ วิทยุ เป็นต้น อุปกรณ์รับรู้เหล่านี้มักจะติดตั้งบนอากาศยาน หรือดาวเทียม
Proximal Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะใกล้ อาศัยเซ็นเซอร์วัดข้อมูลต่างๆ ได้โดยตรงในจุดที่สนใจ เช็นเซ็นเซอร์ตรวจอากาศ (Weather Station) เซ็นเซอร์วัดดิน (Soil Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจโรคพืช (Plant Disease Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจวัดผลผลิต (Yield Monitoring Sensor) เป็นต้น
เซ็นเซอร์เหล์านี้สามารถนํามาวางเป็นระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Sensor Network) โดยนําไปติดตั้งหรือปล่อยในพื้นที่ไร่นา เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ความชื้นในดิน อุณหภูมิ ปริมาณแสง และสารเคมี
Variable Rate Technology (VRT) หรือเทคโนโลยีการให้ปุ๋ย น้ำ ยาฆ่าแมลง ตามสภาพความแตกต่างของพื้นที่ โดยมักจะใช้ร่วมกับเทคโนโลยี GPS
Crop Models and Decision Support System (DSS) เป็นเทคโนโลยีที่บูรณาการเทคโนโลยีทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะทําอะไรกับฟาร์ม เมื่อไร อย่างไร รวมถึงยังสามารถทํานายผลผลิตได้ด้วย
การทําสมาร์ทฟาร์มในประเทศไทยอาจมีข้อจำกัด เนื่องจากระบบเทคโนโลยีบางชนิดยังมีประสิทธิภาพไม่ดี เช่น ระบบ GPS และ GIS ต้องใช้เงินในการลงทุนสูง รวมถึงเกษตรกรขาดความชำนาญในการใช้เครื่องมือ
แต่เมื่อโลกเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ สังคม ตลอดจนองค์ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ที่มีการแลกเปลี่ยนส่งผ่านกันอย่างรวดเร็วไปทั่วทุกภูมิภาค เกษตรกรไทยจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองตามสภาพการดำเนินชีวิต การเปิดรับ เรียนรู้ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อพาตัวเองก้าวสู่การเป็นเกษตรกรคุณภาพ (Smart farmer) ตามนโยบายและแนวทางปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ว่า การพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart farmer
ประโยชน์ของการทำการเกษตรแบบ Smart Farm
ลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากงานบางส่วนจะมีการใช้เทคโนโลยี เช่น โดรน หุ่นยนต์ รถไถอัตโนมัติ เข้ามาช่วย ดังนั้นจะลดภาระงานของคนโดยรวมได้
ได้สินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น การใช้เครื่องมือที่มีความแม่นยำสูงเข้ามาช่วย จะทำให้เกษตรกรสามารถเพิ่มคุณภาพของสินค้าได้ ผ่านการปรับปรุงพันธุ์ ปรับสัดส่วนปุ๋ย การให้น้ำ การให้แสง เป็นต้น
ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยการทำงานที่มีการเก็บข้อมูลอยู่ตลอดและการจัดการในรูปแบบ Zero Waste ทำให้เกษตรกรสามารถคำนวณพื้นที่การปลูก รูปแบบพันธุกรรมต่างๆ ให้มีคุณภาพที่ดี ตามต้องการของผู้บริคในลักษณะต่างๆ หรือในลักษณะ customization เพื่อขายได้ในราคาที่เหมาะสม ไม่ล้นตลาด
มีการขายที่ง่ายขึ้น ในปัจจุบันชาวนาชาวสวนสามารถเข้าถึงการขายได้ง่ายผ่านการตลาดออนไลน์ในแอปพลิเคชันต่างๆ โดยการสนับสนุนจากภาครัฐหรือบริษัทเอกชน
ชัดเจนว่าการนำระบบ Smart Farm มาประยุกต์ใช้นั้นได้ประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะประเทศไทยที่การทำเกษตรยังคงเป็นหัวใจหลักของประชาชน ทว่าในการทำงานจริงนั้นอาจไม่ได้สวยงามเสมอไป ซึ่งการทำงานดังกล่าวมีความเป็นไปได้ดังนี้
Smart Farmer ในไทยและการทำงานจริง
สิ่งหนึ่งที่ต้องยอมรับสำหรับการทำงานด้วย Smart Farm คือ การเข้าถึงเทคโนโลยีและะระบบดิจิทัลต่างๆ ยังคงเป็นอุปสรรคกับพี่น้องเกษตรกรอยู่ไม่น้อย จนสามารถกล่าวได้ว่าแนวคิดนี้ยังต้องใช้เวลาอีกมากสำหรับการประยุกต์ใช้งานจริง
ขณะเดียวกัน ในหน่วยงานทั้งจากภาครัฐและเอกชนก็มีการลงทุนในด้านเทคโนโลยีนี้เพื่อทำให้การผลิตภายในประเทศดีขึ้น เช่นบริษัท เอไอ โรโบติกส์ เวนเจอร์ ในเครือ PTTEP ได้ร่วมลงทุนในการสร้างระบบโดรนนวัตกรรมการเกษตร พร้อมบริการครบวงจร รวมถึงระบบการเก็บข้อมูล เพื่อทำให้ทางเกษตรกรเข้าถึงเครื่องมือชนิดนี้ได้ง่ายขึ้น
แน่นอนว่าการใช้งานอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ระบบ IoT และการใช้ Robotics ในการเกษตร รวมถึง Smart Farmer เองก็ยังเป็นหนึ่งในหัวข้อสำคัญสำหรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีด้วย คาดว่าหลังจากนี้ในส่วนของการเกษตรจะมีการใช้งานเทคโนโลยีต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างเป็นนัยสำคัญอย่างแน่นอน
สรุป
การทำการเกษตรแบบ Smart Farmer นั้นมีส่วนช่วยอย่างมากในการยกระดับคุณภาพชีวิตของพี่น้องเกษตรกร ทั้งรายย่อยและรายใหญ่ รวมถึงทำให้ผู้บริโภคได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ทว่าในสถานการณ์ปัจจุบัน ยังคงเป็นเรื่องยากที่จะกระจายเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลรวมถึงบอกเล่าความรู้เหล่านั้นไปสู่มือของเกษตรกร จึงอาจเป็นหน้าที่ของทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแลและสนับสนุนในระยะยาว เพื่อทำให้การเกษตรแบบอัจฉริยะนี้กลายเป็นหนึ่งในหนทางพัฒนาคุณภาพของประเทศไทยในอนาคต
ตัวอย่างของ Smart Farmer
การใช้เทคโนโลยี GPS เพื่อตรวจสอบพื้นที่การเกษตรและเทคโนโลยีจัดการข้อมูลเพื่อตรวจสอบสภาพภูมิอากาศในออสเตรเลีย ทำให้เกษตรกรสามารถคาดเดาการรดน้ำใส่ปุ๋ยให้พืชผลของตนเองได้
การเกษตรของญี่ปุ่น ที่ภาครัฐและมหาวิทยาลัยได้มีการศึกษาแนวคิดรถแทร็กเตอร์ไร้คนขับ เพื่อนำมาใช้งานแทนแรงงานคน โดยรถแทร็กเตอร์นี้จะสามารถทำงานได้ทั้งการไถ หว่าน ให้ปุ๋ย จนถึงการเก็บเกี่ยว
การนำเทคโนโลยี Big Data มาประยุกต์ใช้ในฟาร์มญี่ปุ่น เพื่อรวบรวมข้อมูลการปลูกพืชทั้งหมด มาวิเคราะห์ว่าการทำการเกษตรแบบไหนสามารถให้ผลตอบแทนได้ดีที่สุด
เห็นได้ชัดว่าการทำการเกษตรด้วยแนวคิด Smart Farmer นั้นครอบคลุมตั้งแต่การวางแผนก่อนการหว่านเมล็ด จนถึงการขายสินค้า ทำให้เกษตรกรสามารถลดภาระของตัวเองได้ ด้วยการลงทุนในระบบที่ดีในระยะยาว
TEMP CLIMATE CONTROLLER
ทางเลือกที่ชาญฉลาด เป็นมิตร และคุ้มค่าต่อการลงทุน
ไม่ว่าคุณจะเลี้ยงสัตว์ปีก สุกร หรือปศุสัตว์และการเกษตรอื่นๆ ให้ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายของเราเป็นตัวช่วยเพื่อผลผลิตที่สูงขึ้น ด้วยต้นทุนที่ต่ำลง และการเลี้ยงที่เป็นระบบ
ชุดควบคุมสภาพอากาศที่ใช้ในโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ ( Climate Controller ) และ
ฮีตเตอร์ ใช้ในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น การเพาะปลูกในเรือนกระจก ( Greenhouse ) และ
การเลี้ยงสัตว์ในระบบโรงเรือนแบบปรับอากาศ ( Evaporative Greenhouse ) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในระบบบการเกษตรอัจฉริยะ หรือ Smart Farming
อ่านเพิ่ม >> คุณสมบัติ
สอบถามเพิ่มเติม >> https://www.facebook.com/swf1998
