Menu Close

อาหารสุกร

อาหารสุกร

อาหารและการให้ อาหารสุกร

        อาหารและการให้ อาหารสุกร สุกรเป็นสัตว์กระเพาะเดี่ยวไม่สามารถย่อยอาหารที่มีเส้นใยมากได้ดี เหมือนสัตว์กระเพาะรวม ( โค กระบือ) ระบบการย่อยอาหารมีหน้าที่ย่อยอาหาร ที่สุกรกินเข้าไปให้แตกตัวจนมีขนาดเล็กลง เพื่อสามารถดูดซึมไปใช้เสริมสร้าง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

 
temp climate controller

สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายสุกร มี 6 ชนิด คือ

1. น้ํา 

ให้น้ําสะอาดแก่สุกรตลอดเวลา ปกติสุกรจะกินน้ําประมาณ 5-20 ลิตรต่อวัน ตามขนาดของสุกร

2. อาหารสุกร โปรตีน 

มีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตของสุกร ช่วยสร้างเนื้อเยื่อ และเป็นส่วนประกอบหลักที่สําคัญของร่างกายสัตว์ โปรตีนประกอบด้วยกรด อะมิโนอยู่ประมาณ 30 ชนิด กรดอะมิโนที่จําเป็น 10 ชนิด 

ได้แก่ ไลซีน เมทไธโอนีน ทริพโตแฟน อาร์มินิน ฮิสทิดีน ไอโซลูซีน ลูซีน อาลานีน ทรีโอนีน และวาลีน 3. คาร์โบไฮเดรท เป็นอาหารที่ให้พลังงานที่เรียกง่ายๆ ว่าอาหารแป้ง และน้ําตาล รวมไปถึงเยื่อใยที่เป็นส่วนประกอบในวัตถุดิบอาหารสัตว์

 
 
เครื่องควบคุมอุณหภูมิ

4. อาหารสุกร ไขมัน 

เป็นอาหารที่ให้พลังงาน เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรท แต่ให้ พลังงานสูงกว่าคาร์โบไฮเดรท 2.25 เท่า

5. อาหารสุกร แร่ธาตุ 

แร่ธาตุเป็นสิ่งจําเป็นมากที่สุด สําหรับการทํางานของร่างกาย มีหน้าที่เสริมสร้างกระดูก และต้านทานโรค ในร่างกายสุกรมีแร่ธาตุมากกว่า 40 ชนิด ส่วนที่จําเป็นและสําคัญต่อร่างกาย ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม คลอรีน เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน กํามะถัน สังกะสี แมงกานีส โคบอลท์ โปตัสเซียม แมกนีเซียม และซิลิเนียม

6. อาหารสุกร วิตามิน

เป็นสารประกอบอินทรีย์ มีความจําเป็นต่อการเจริญเติบโต และการดํารงชีวิต วิตามินมีมากถึง 50 ชนิด ส่วนที่จําเป็นในร่างกายสัตว์ ได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี บี2 (ไรโบฟลาวิน) ไนอาซีน กรดแพนโทธินิค โคลีน ไบโอติน และ บี12 เป็นต้น

Pigatron 13 Temp

 

ความต้อง การ อาหารของสุกร ระยะต่าง ๆ

1. ลูกสุกรระยะดูดนมแม่ เริ่มให้อาหารสุกรนมโปรตีน 22 เปอร์เซ็นต์ หรือ อาหารสุกรอ่อนโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ เมื่อลูกสุกรมีอายุ 10 วัน ถึงหย่านม (หย่านม 28 วัน) และให้ต่ออีกประมาณ 3 วัน หลังจากหย่านมแล้ว

 

2. ลูกสุกรระยะหย่านม (หย่านม 28 วัน น้ําหนักประมาณ 6 กิโลกรัม) ให้อาหารสุกรอ่อนโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ จนถึงอายุ 2 เดือน (น้ําหนักประมาณ 12-20 กิโลกรัม)

 
เครื่องควบคุมอุณหภูมิ

 

3. สุกรระยะน้ําหนัก 20-35 กิโลกรัม ให้อาหารโปรตีน 18 เปอร์เซ็นต์ โดยให้สุกรกินอาหารเต็มที่ สุกรจะกินอาหารวันละ 1-2 กิโลกรัม

4. สุกรระยะน้ําหนัก 35-60 กิโลกรัม ให้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ สุกรจะกินอาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม

 

5. สุกรระยะน้ําหนัก 60 กิโลกรัม-ส่งตลาด ให้อาหารโปรตีน 14-15 เปอร์เซ็นต์ สุกรจะกินอาหารวันละ 2.5-3.5 กิโลกรัม

 
Pigatron 13

 

6. การให้อาหารสุกรพันธุ์ทดแทน สุกรตัวที่ต้องการจะเก็บไว้ทําพันธุ์ (ยกเว้นสุกรขุน, สุกรทดสอบพันธุ์) ควรจํากัดอาหารเพื่อไม่ให้อ้วนเกินไป เมื่อสุกร น้ําหนักประมาณ 60 กิโลกรัม ใช้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ ให้อาหาร วันละ 2-2.5 กิโลกรัม

 

7. การให้อาหารสุกร พ่อพันธุ์ ให้อาหารโปรตีนประมาณ 15-16 เปอร์เซ็นต์
– พ่อพันธุ์ตัวใหญ่ 150 กิโลกรัมขึ้นไป ให้อาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม
– พ่อพันธุ์ตัวเล็ก 100-150 กิโลกรัม ให้อาหารวันละ 2 กิโลกรัม

 

เครื่องควบคุมอุณหภูมิ

 

8. การให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้อง ให้อาหารโปรตีนประมาณ 15-16 เปอร์เซ็นต์ วันละ 2-2.5 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับสภาพแม่สุกรอ้วนหรือผอม) แต่ให้ อาหารลดลงเหลือวันละ 1-1.5 กิโลกรัมเมื่อตั้งท้องได้ 108-114 วัน

 

9. การให้อาหารแม่สุกรหลังคลอด ให้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ ค่อยๆ เพิ่มปริมาณวันละ 1-2 กิโลกรัม จนถึงหลังคลอด 14 วันขึ้นไปให้อาหาร เต็มที่เท่าที่แม่สุกรจะกินได้

 

10. การให้อาหารแม่สุกรหลังหย่านม ให้อาหารโปรตีน 15-16 เปอร์เซ็นต์ ให้วันละ 1-1.5 กิโลกรัมเมื่อหย่านมวันแรก หลังจากนั้นเพิ่มเป็นวันละ 3-4 กิโลกรัม จากนั้นจึงลดลงเหลือวันละ 1.5-2 กิโลกรัม เมื่อแม่สุกรเป็นสัดและผสมพันธุ์แล้ว

 

#อาหารและการให้อาหารสุกร #อาหารสุกร #tempclimatecontroller #temp

 
 
ระบบ ควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน

อาหารและการให้อาหารสุกร

     สุกรเป็นสัตว์กระเพาะเดี่ยวไม่สามารถย่อยอาหารที่มีเส้นใยมากได้ดี เหมือนสัตว์กระเพาะรวม (โค กระบือ) ระบบการย่อยอาหารมีหน้าที่ย่อยอาหาร ที่สุกรกินเข้าไปให้แตกตัวจนมีขนาดเล็กลง เพื่อสามารถดูดซึมไปใช้เสริมสร้าง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
 

สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายสุกร มี 6 ชนิด คือ

 
1. น้ํา ให้น้ําสะอาดแก่สุกรตลอดเวลา ปกติสุกรจะกินน้ําประมาณ 5-20 ลิตรต่อวัน ตามขนาดของสุกร
 
2. โปรตีน มีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตของสุกร ช่วยสร้างเนื้อเยื่อ และเป็นส่วนประกอบหลักที่สําคัญของร่างกายสัตว์ โปรตีนประกอบด้วยกรด อะมิโนอยู่ประมาณ 30 ชนิด กรดอะมิโนที่จําเป็น 10 ชนิด ได้แก่ ไลซีน เมทไธโอนีน ทริพโตแฟน อาร์มินิน ฮิสทิดีน ไอโซลูซีน ลูซีน อาลานีน ทรีโอนีน และวาลีน 3. คาร์โบไฮเดรท เป็นอาหารที่ให้พลังงานที่เรียกง่ายๆ ว่าอาหารแป้ง และน้ําตาล รวมไปถึงเยื่อใยที่เป็นส่วนประกอบในวัตถุดิบอาหารสัตว์
 

เครื่องควบคุมอุณหภูมิ

 
4. ไขมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงาน เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรท แต่ให้ พลังงานสูงกว่าคาร์โบไฮเดรท 2.25 เท่า
 
5. แร่ธาตุ แร่ธาตุเป็นสิ่งจําเป็นมากที่สุด สําหรับการทํางานของร่างกาย มีหน้าที่เสริมสร้างกระดูก และต้านทานโรค ในร่างกายสุกรมีแร่ธาตุมากกว่า 40 ชนิด ส่วนที่จําเป็นและสําคัญต่อร่างกาย ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม คลอรีน เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน กํามะถัน สังกะสี แมงกานีส โคบอลท์ โปตัสเซียม แมกนีเซียม และซิลิเนียม
 
6. วิตามิน เป็นสารประกอบอินทรีย์ มีความจําเป็นต่อการเจริญเติบโต และการดํารงชีวิต วิตามินมีมากถึง 50 ชนิด ส่วนที่จําเป็นในร่างกายสัตว์ ได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี บี2 (ไรโบฟลาวิน) ไนอาซีน กรดแพนโทธินิค โคลีน ไบโอติน และ บี12 เป็นต้น
 
Pigatron 13 Temp

ความต้องการอาหารของสุกรระยะต่าง ๆ

1. ลูกสุกรระยะดูดนมแม่ เริ่มให้อาหารสุกรนมโปรตีน 22 เปอร์เซ็นต์ หรือ อาหารสุกรอ่อนโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ เมื่อลูกสุกรมีอายุ 10 วัน ถึงหย่านม (หย่านม 28 วัน) และให้ต่ออีกประมาณ 3 วัน หลังจากหย่านมแล้ว
 
2. ลูกสุกรระยะหย่านม (หย่านม 28 วัน น้ําหนักประมาณ 6 กิโลกรัม) ให้อาหารสุกรอ่อนโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ จนถึงอายุ 2 เดือน (น้ําหนักประมาณ 12-20 กิโลกรัม)
3. สุกรระยะน้ําหนัก 20-35 กิโลกรัม ให้อาหารโปรตีน 18 เปอร์เซ็นต์ โดยให้สุกรกินอาหารเต็มที่ สุกรจะกินอาหารวันละ 1-2 กิโลกรัม
 
4. สุกรระยะน้ําหนัก 35-60 กิโลกรัม ให้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ สุกรจะกินอาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม
5. สุกรระยะน้ําหนัก 60 กิโลกรัม-ส่งตลาด ให้อาหารโปรตีน 14-15 เปอร์เซ็นต์ สุกรจะกินอาหารวันละ 2.5-3.5 กิโลกรัม
 
 
Pigatron 13
 
 
6. การให้อาหารสุกรพันธุ์ทดแทน สุกรตัวที่ต้องการจะเก็บไว้ทําพันธุ์ (ยกเว้นสุกรขุน, สุกรทดสอบพันธุ์) ควรจํากัดอาหารเพื่อไม่ให้อ้วนเกินไป เมื่อสุกร น้ําหนักประมาณ 60 กิโลกรัม ใช้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ ให้อาหาร วันละ 2-2.5 กิโลกรัม
 
7. การให้อาหารสุกรพ่อพันธุ์ ให้อาหารโปรตีนประมาณ 15-16 เปอร์เซ็นต์
– พ่อพันธุ์ตัวใหญ่ 150 กิโลกรัมขึ้นไป ให้อาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม
– พ่อพันธุ์ตัวเล็ก 100-150 กิโลกรัม ให้อาหารวันละ 2 กิโลกรัม
 
8. การให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้อง ให้อาหารโปรตีนประมาณ 15-16 เปอร์เซ็นต์ วันละ 2-2.5 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับสภาพแม่สุกรอ้วนหรือผอม) แต่ให้ อาหารลดลงเหลือวันละ 1-1.5 กิโลกรัมเมื่อตั้งท้องได้ 108-114 วัน
9. การให้อาหารแม่สุกรหลังคลอด ให้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ ค่อยๆ เพิ่มปริมาณวันละ 1-2 กิโลกรัม จนถึงหลังคลอด 14 วันขึ้นไปให้อาหาร เต็มที่เท่าที่แม่สุกรจะกินได้
10. การให้อาหารแม่สุกรหลังหย่านม ให้อาหารโปรตีน 15-16 เปอร์เซ็นต์ ให้วันละ 1-1.5 กิโลกรัมเมื่อหย่านมวันแรก หลังจากนั้นเพิ่มเป็นวันละ 3-4 กิโลกรัม จากนั้นจึงลดลงเหลือวันละ 1.5-2 กิโลกรัม เมื่อแม่สุกรเป็นสัดและผสมพันธุ์แล้ว
 
 
ระบบ ควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน

อาหารและการให้อาหารสุกร

 
        สุกรเป็นสัตว์กระเพาะเดี่ยวไม่สามารถย่อยอาหารที่มีเส้นใยมากได้ดี เหมือนสัตว์กระเพาะรวม (โค กระบือ) ระบบการย่อยอาหารมีหน้าที่ย่อยอาหาร ที่สุกรกินเข้าไปให้แตกตัวจนมีขนาดเล็กลง เพื่อสามารถดูดซึมไปใช้เสริมสร้าง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
 
สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายสุกร มี 6 ชนิด คือ
 
1. น้ํา ให้น้ําสะอาดแก่สุกรตลอดเวลา ปกติสุกรจะกินน้ําประมาณ 5-20 ลิตรต่อวัน ตามขนาดของสุกร
2. โปรตีน มีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตของสุกร ช่วยสร้างเนื้อเยื่อ และเป็นส่วนประกอบหลักที่สําคัญของร่างกายสัตว์ โปรตีนประกอบด้วยกรด อะมิโนอยู่ประมาณ 30 ชนิด กรดอะมิโนที่จําเป็น 10 ชนิด ได้แก่ ไลซีน เมทไธโอนีน ทริพโตแฟน อาร์มินิน ฮิสทิดีน ไอโซลูซีน ลูซีน อาลานีน ทรีโอนีน และวาลีน 
 
เครื่องควบคุมอุณหภูมิ
 
3. คาร์โบไฮเดรท เป็นอาหารที่ให้พลังงานที่เรียกง่ายๆ ว่าอาหารแป้ง และน้ําตาล รวมไปถึงเยื่อใยที่เป็นส่วนประกอบในวัตถุดิบอาหารสัตว์
 
4. ไขมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงาน เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรท แต่ให้ พลังงานสูงกว่าคาร์โบไฮเดรท 2.25 เท่า
 
5. แร่ธาตุ แร่ธาตุเป็นสิ่งจําเป็นมากที่สุด สําหรับการทํางานของร่างกาย มีหน้าที่เสริมสร้างกระดูก และต้านทานโรค ในร่างกายสุกรมีแร่ธาตุมากกว่า 40 ชนิด ส่วนที่จําเป็นและสําคัญต่อร่างกาย ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม คลอรีน เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน กํามะถัน สังกะสี แมงกานีส โคบอลท์ โปตัสเซียม แมกนีเซียม และซิลิเนียม
 
6. วิตามิน เป็นสารประกอบอินทรีย์ มีความจําเป็นต่อการเจริญเติบโต และการดํารงชีวิต วิตามินมีมากถึง 50 ชนิด ส่วนที่จําเป็นในร่างกายสัตว์ ได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี บี2 (ไรโบฟลาวิน) ไนอาซีน กรดแพนโทธินิค โคลีน ไบโอติน และ บี12 เป็นต้น
 
Pigatron 13 Temp

 

ความต้องการอาหารของสุกรระยะต่าง ๆ

 
1. ลูกสุกรระยะดูดนมแม่ เริ่มให้อาหารสุกรนมโปรตีน 22 เปอร์เซ็นต์ หรือ อาหารสุกรอ่อนโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ เมื่อลูกสุกรมีอายุ 10 วัน ถึงหย่านม (หย่านม 28 วัน) และให้ต่ออีกประมาณ 3 วัน หลังจากหย่านมแล้ว
 
2. ลูกสุกรระยะหย่านม (หย่านม 28 วัน น้ําหนักประมาณ 6 กิโลกรัม) ให้อาหารสุกรอ่อนโปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ จนถึงอายุ 2 เดือน (น้ําหนักประมาณ 12-20 กิโลกรัม)
 
3. สุกรระยะน้ําหนัก 20-35 กิโลกรัม ให้อาหารโปรตีน 18 เปอร์เซ็นต์ โดยให้สุกรกินอาหารเต็มที่ สุกรจะกินอาหารวันละ 1-2 กิโลกรัม
 
4. สุกรระยะน้ําหนัก 35-60 กิโลกรัม ให้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ สุกรจะกินอาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม
 
5. สุกรระยะน้ําหนัก 60 กิโลกรัม-ส่งตลาด ให้อาหารโปรตีน 14-15 เปอร์เซ็นต์ สุกรจะกินอาหารวันละ 2.5-3.5 กิโลกรัม
 
Pigatron 13
 
6. การให้อาหารสุกรพันธุ์ทดแทน สุกรตัวที่ต้องการจะเก็บไว้ทําพันธุ์ (ยกเว้นสุกรขุน, สุกรทดสอบพันธุ์) ควรจํากัดอาหารเพื่อไม่ให้อ้วนเกินไป เมื่อสุกร น้ําหนักประมาณ 60 กิโลกรัม ใช้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ ให้อาหาร วันละ 2-2.5 กิโลกรัม
 
7. การให้อาหารสุกรพ่อพันธุ์ ให้อาหารโปรตีนประมาณ 15-16 เปอร์เซ็นต์
– พ่อพันธุ์ตัวใหญ่ 150 กิโลกรัมขึ้นไป ให้อาหารวันละ 2-2.5 กิโลกรัม
– พ่อพันธุ์ตัวเล็ก 100-150 กิโลกรัม ให้อาหารวันละ 2 กิโลกรัม
 
8. การให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้อง ให้อาหารโปรตีนประมาณ 15-16 เปอร์เซ็นต์ วันละ 2-2.5 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับสภาพแม่สุกรอ้วนหรือผอม) แต่ให้ อาหารลดลงเหลือวันละ 1-1.5 กิโลกรัมเมื่อตั้งท้องได้ 108-114 วัน
 
9. การให้อาหารแม่สุกรหลังคลอด ให้อาหารโปรตีน 16 เปอร์เซ็นต์ ค่อยๆ เพิ่มปริมาณวันละ 1-2 กิโลกรัม จนถึงหลังคลอด 14 วันขึ้นไปให้อาหาร เต็มที่เท่าที่แม่สุกรจะกินได้
 
10. การให้อาหารแม่สุกรหลังหย่านม ให้อาหารโปรตีน 15-16 เปอร์เซ็นต์ ให้วันละ 1-1.5 กิโลกรัมเมื่อหย่านมวันแรก หลังจากนั้นเพิ่มเป็นวันละ 3-4 กิโลกรัม จากนั้นจึงลดลงเหลือวันละ 1.5-2 กิโลกรัม เมื่อแม่สุกรเป็นสัดและผสมพันธุ์แล้ว
 
ระบบ ควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือน

Controller เปิด ปิด พัดลมในฟาร์ม

        จะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถติดตามข้อมูลทั้งหมดภายในเล้า เพื่อให้การบริหารจัดการของคุณ ราบรื่นยิ่งขึ้น Flock Data อีก 1 ฟีเจอร์ที่มีมาใน Temp Chickatron 20 ที่จะช่วยให้คุณสามารถติดตามข้อมูล ทั้งหมด ณ ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นจำนวนไก่/หมูภายในโรงเรือน ปริมาณอาหาร/น้ำที่กินในแต่ละวัน

 

น้ำหนักของสัตว์ ณ ปัจจุบัน อัตราการแลกเนื้อ (FCR) โดยข้อมูลทั้งหมด ผู้เลี้ยงสามารถติดตามได้แบบ Rael time อีกทั้งยังมีตารางสรุปข้อมูลทั้งหมด เพื่อให้ผู้เลี้ยงสามารถบริหารจัดการและจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์การเลี้ยง ได้ง่ายดายมากยิ่งขึ้น.

 

Controller เปิด ปิด พัดลมในฟาร์ม

        จะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถติดตามข้อมูลทั้งหมดภายในเล้า เพื่อให้การบริหารจัดการของคุณ ราบรื่นยิ่งขึ้น Flock Data อีก 1 ฟีเจอร์ที่มีมาใน Temp Chickatron 20 ที่จะช่วยให้คุณสามารถติดตามข้อมูล ทั้งหมด ณ ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นจำนวนไก่/หมูภายในโรงเรือน ปริมาณอาหาร/น้ำที่กินในแต่ละวันน้ำหนักของสัตว์ ณ ปัจจุบัน อัตราการแลกเนื้อ (FCR) โดยข้อมูลทั้งหมด ผู้เลี้ยงสามารถติดตามได้แบบ Rael time อีกทั้งยังมีตารางสรุปข้อมูลทั้งหมด เพื่อให้ผู้เลี้ยงสามารถบริหารจัดการและจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์การเลี้ยง ได้ง่ายดายมากยิ่งขึ้น.
 

Controller เปิด ปิด พัดลมในฟาร์ม

        จะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถติดตามข้อมูลทั้งหมดภายในเล้า เพื่อให้การบริหารจัดการของคุณ ราบรื่นยิ่งขึ้น Flock Data อีก 1 ฟีเจอร์ที่มีมาใน Temp Chickatron 20 ที่จะช่วยให้คุณสามารถติดตามข้อมูล ทั้งหมด ณ ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นจำนวนไก่/หมูภายในโรงเรือน ปริมาณอาหาร/น้ำที่กินในแต่ละวันน้ำหนักของสัตว์ ณ ปัจจุบัน อัตราการแลกเนื้อ (FCR) โดยข้อมูลทั้งหมด ผู้เลี้ยงสามารถติดตามได้แบบ Rael time อีกทั้งยังมีตารางสรุปข้อมูลทั้งหมด เพื่อให้ผู้เลี้ยงสามารถบริหารจัดการและจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์การเลี้ยง ได้ง่ายดายมากยิ่งขึ้น.
 
 
ติดตาม temp controller
Product TEMP   #temp  #Smart #tempcontroller 
 
Posted in สาระน่ารู้
error: เนื้อหาได้รับการคุ้มครอง !!