โรคกระดูกอกหัก ในไก่ไข่ และพันธุ์ไก่เนื้อ
โรคกระดูกอกหัก (Keel bone fractures, KBF) เป็นปัญหาด้านสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ที่พบได้บ่อยที่สุดในการเลี้ยงไก่ไข่ โรคกระดูกอกหัก มีลักษณะสําคัญคือ การสร้างเนื้อเยื่อ กระดูกใหม่ (callus formation)
ซึ่งเป็นรอยโรคที่พบได้บ่อยในแม่ไก่ที่เลี้ยงแบบไม่ขับกรุง หรือสังเกตเห็นเป็นรอยหัก และ/หรือการหักหรือร้าวของกระดูกอก (keel) หรือศัพท์ทาง กายวิภาคศาสตร์เรียกว่า“สเตอร์นัม (sternum)” ปัญหานี้พบได้ทั่วโลก ในไก่ไข่ในทุกระบบ การผลิตไข่ไก่เชิงพาณิชย์ สาเหตุของโรคกระดูกอกหักในแม่ไก่ระหว่างให้ไข่ ยังเป็นประเด็น
ที่ถกเถียงกันในวงการวิชาการ และสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน
โรคกระดูกอกหักในโก่ไข่
โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่เป็นปัญหาสําคัญด้านสวัสดิภาพสัตว์ เนื่องจาก ส่งผลต่อการบาดเจ็บ และความ เจ็บปวดทรมานต่อสัตว์ จนทําให้สัตว์ลดการเคลื่อนที่จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และผลผลิตโดยตรงจาก ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหารที่ไม่ดี อัตราการให้ไข่ และคุณภาพของไข่ลดลง ภายหลังจากข้อเรียกร้อง ของคณะกรรมการ FAWC ได้แนะนําให้เริ่มต้นด้วยการศึกษาแนวโน้มของความชุกของโรค ตามข้อเสนอให้ วางแผนการตรวจประเมินทั้งในไก่ไข่ปลดที่โรงเชือดโดยอาจเป็นทุกครั้ง หรือสุ่มเก็บตัวอย่างอย่างเป็นระบบ โดย การตรวจคลํา และ/หรือตรวจประเมินตัวอย่างกระดูกอกภายหลังตัดแยกออกจากตัวสัตว์แล้ว งานวิจัยต่างๆ ก็
เริ่มเผยแพร่ในวารสารวิชาการ
การทดลองให้สารเดสโลเรลิน อะซิเตต ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการไข่ พบว่า แม่ไก่ที่ ให้สารชนิดนี้จะไม่พบปัญหาโรคกระดูกอกหัก สําหรับ สารเดสโลเรลิน อะซิเตต เป็นฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รี ลีสซิ่ง ตามธรรมชาติ ฮอร์โมนชนิดนี้จะหลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของต่อมไร้
ท่อภายในร่างกายสัตว์ โดยฮอร์โมนชนิดนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติ้ง หรือเอฟเอสเอช (Follicle stimulating hormone, FSH)
และฮอร์โมนลูมิไนซิ่ง (Luteiniz ing hormone, LH)ผลการวิจัย พบความสัมพันธ์ระหว่างโรคกระดูกอกหัก และการให้ไข่ฟองแรกที่เร็วเกินไป แม่ไก่ตัวเล็ก และน้ําหนักไข่เฉลี่ยที่ออกมาชุดแรก ขณะที่ นักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่าไก่เพศผู้ไม่พบโรคกระดูกอกหัก บ่งชี้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคนี้กับการผลิตไข่ไก่ ความผิดปรกติของกระดูกอก สามารถแบ่งได้เป็น การถูกทําลาย ผิดรูป และการหักของกระดูก โดยจําแนกสาเหตุของความผิดปรกติดังกล่าวได้ว่า การถูกทําลายผิดรูปของ กระดูกอก ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการเกาะคอน และคอนเกาะที่แข็ง หรือบางจนเกินไปขณะที่ การหัก ของกระดูกอกเป็นผลจากการกระแทกกับโครงสร้างโรงเรือน
โรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์
ชโกโมโดโกรกกะลnnel แม่ไก่พันธุ์สําหรับผลิตลูกไก่เนื้อ หรือไก่พันธุ์เนื้อ ก็ผลิตไข่เช่นเดียวกับไก่ไข่ ดังนั้น โรคกระดูกอกหักก็ สามารถพบได้ในแม่ไก่พันธุ์เนื้อ เช่นเดียวกันการเริ่มวางไข่ในไก่พันธุ์เนื้อช้ากว่าไก่ไข่ และไม่ผลิตไข่เป็นจํานวน มากเท่าไก่ไข่ นอกจากนั้น ไก่พันธุ์เนื้อมีโครงสร้างใหญ่กว่า และกล้ามเนื้ออกที่ขนาดใหญ่กว่ามาก ช่วยป้องกัน กระดูกอก และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้
เนื่องจาก ขนาดร่างกายมีความสัมพันธ์กับโรคกระดูกอกหัก รายงานวิจัยล่าสุด พบว่า ความชุกของโรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์เนื้อที่ครบอายุปลดแล้วทั้งสายพันธุ์โตเร็ว และโตช้า ในสายพันธุ์รอส ๓๐๘ แรงเจอร์โกลด์ และฮับบาร์ด เจเอ ๗๕๗ พบได้ระหว่างร้อยละ ๑๔ ถึง ๕๔ ต่ํากว่าที่เคยมีรายงานไว้ในไก่ไข่ที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีความชุกระหว่างร้อยละ ๘๕ ถึง ๙๙
โดยอธิบายสาเหตุ สําหรับความชุกของโรคในไก่พันธุ์เนื้อที่ต่ํากว่าไก่ไข่ไว้ว่า อาจเกี่ยวข้องกับอายุการเริ่มให้ไข่ อัตราการให้ไข่ที่ต่ํา กว่า และอายุการปลดไก่ที่เร็วกว่า (อายุการปลดไก่พันธุ์เนื้อ ๖๓ สัปดาห์เปรียบเทียบกับไก่ไข่ ๗๕
บทสรุป
โรคกระดูกอกหักเป็นประเด็นปัญหาด้าน สวัสดิภาพสัตว์ในไก่ระยะการให้ผลผลิตไข่ ทั้งในไก่ไข่และไก่พันธุ์ ภายหลังจากคณะกรรมการ สวัสดิภาพสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม สหราชอาณาจักรเรียกร้องผู้ผลิตสัตว์ปีกให้เล็งเห็นถึงความสําคัญของปัญหานี้ เนื่องจาก สร้างความเจ็บปวดและทรมานต่อสัตว์อย่างมาก รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคกระดูกอกหักจึงเผยแพร่ตีพิมพ์จํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ วิธีการตรวจ ประเมินโรค และการศึกษาความชุกของโรคที่แท้จริง
โรคกระดูกอกหัก ในไก่ไข่ และพันธุ์ไก่เนื้อ
โรคกระดูกอกหัก (Keel bone fractures, KBF) เป็นปัญหาด้านสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ที่พบได้บ่อยที่สุดในการเลี้ยงไก่ไข่ โรคกระดูกอกหัก มีลักษณะสําคัญคือ การสร้างเนื้อเยื่อ กระดูกใหม่ (callus formation)
ซึ่งเป็นรอยโรคที่พบได้บ่อยในแม่ไก่ที่เลี้ยงแบบไม่ขับกรุง หรือสังเกตเห็นเป็นรอยหัก และ/หรือการหักหรือร้าวของกระดูกอก (keel) หรือศัพท์ทาง กายวิภาคศาสตร์เรียกว่า“สเตอร์นัม (sternum)” ปัญหานี้พบได้ทั่วโลก ในไก่ไข่ในทุกระบบ การผลิตไข่ไก่เชิงพาณิชย์ สาเหตุของโรคกระดูกอกหักในแม่ไก่ระหว่างให้ไข่ ยังเป็นประเด็น
ที่ถกเถียงกันในวงการวิชาการ และสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน
โรคกระดูกอกหักในโก่ไข่
โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่เป็นปัญหาสําคัญด้านสวัสดิภาพสัตว์ เนื่องจาก ส่งผลต่อการบาดเจ็บ และความ เจ็บปวดทรมานต่อสัตว์ จนทําให้สัตว์ลดการเคลื่อนที่จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และผลผลิตโดยตรงจาก ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหารที่ไม่ดี อัตราการให้ไข่ และคุณภาพของไข่ลดลง ภายหลังจากข้อเรียกร้อง ของคณะกรรมการ FAWC
ได้แนะนําให้เริ่มต้นด้วยการศึกษาแนวโน้มของความชุกของโรค ตามข้อเสนอให้ วางแผนการตรวจประเมินทั้งในไก่ไข่ปลดที่โรงเชือดโดยอาจเป็นทุกครั้ง หรือสุ่มเก็บตัวอย่างอย่างเป็นระบบ โดย การตรวจคลํา และ/หรือตรวจประเมินตัวอย่างกระดูกอกภายหลังตัดแยกออกจากตัวสัตว์แล้ว งานวิจัยต่างๆ ก็ เริ่มเผยแพร่ในวารสารวิชาการ การทดลองให้สารเดสโลเรลิน อะซิเตต ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการไข่ พบว่า แม่ไก่ที่ ให้สารชนิดนี้จะไม่พบปัญหาโรคกระดูกอกหัก สําหรับ สารเดสโลเรลิน อะซิเตต เป็นฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รี ลีสซิ่ง
ตามธรรมชาติ ฮอร์โมนชนิดนี้จะหลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของต่อมไร้ ท่อภายในร่างกายสัตว์ โดยฮอร์โมนชนิดนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติ้ง หรือเอฟเอสเอช (Follicle stimulating hormone, FSH) และฮอร์โมนลูมิไนซิ่ง (Luteiniz ing hormone, LH)ผลการวิจัย
พบความสัมพันธ์ระหว่างโรคกระดูกอกหัก และการให้ไข่ฟองแรกที่เร็วเกินไป แม่ไก่ตัวเล็ก และน้ําหนักไข่เฉลี่ยที่ออกมาชุดแรก ขณะที่ นักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่าไก่เพศผู้ไม่พบโรคกระดูกอกหัก บ่งชี้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคนี้กับการผลิตไข่ไก่
ความผิดปรกติของกระดูกอก สามารถแบ่งได้เป็น การถูกทําลาย ผิดรูป และการหักของกระดูก โดยจําแนกสาเหตุของความผิดปรกติดังกล่าวได้ว่า การถูกทําลายผิดรูปของ กระดูกอก ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการเกาะคอน และคอนเกาะที่แข็ง หรือบางจนเกินไป
ขณะที่ การหัก ของกระดูกอกเป็นผลจากการกระแทกกับโครงสร้างโรงเรือน
โรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์
ชโกโมโดโกรกกะลnnel แม่ไก่พันธุ์สําหรับผลิตลูกไก่เนื้อ หรือไก่พันธุ์เนื้อ ก็ผลิตไข่เช่นเดียวกับไก่ไข่ ดังนั้น โรคกระดูกอกหักก็ สามารถพบได้ในแม่ไก่พันธุ์เนื้อ เช่นเดียวกันการเริ่มวางไข่ในไก่พันธุ์เนื้อช้ากว่าไก่ไข่ และไม่ผลิตไข่เป็นจํานวน มากเท่าไก่ไข่ นอกจากนั้น ไก่พันธุ์เนื้อมีโครงสร้างใหญ่กว่า และกล้ามเนื้ออกที่ขนาดใหญ่กว่ามาก ช่วยป้องกัน กระดูกอก และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ เนื่องจาก
ขนาดร่างกายมีความสัมพันธ์กับโรคกระดูกอกหัก รายงานวิจัยล่าสุด พบว่า ความชุกของโรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์เนื้อที่ครบอายุปลดแล้ว
ทั้งสายพันธุ์โตเร็ว และโตช้า ในสายพันธุ์รอส ๓๐๘ แรงเจอร์โกลด์ และฮับบาร์ด เจเอ ๗๕๗ พบได้ระหว่างร้อยละ ๑๔ ถึง ๕๔ ต่ํากว่าที่เคยมีรายงานไว้ในไก่ไข่ที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีความชุกระหว่างร้อยละ ๘๕ ถึง ๙๙
โดยอธิบายสาเหตุ สําหรับความชุกของโรคในไก่พันธุ์เนื้อที่ต่ํากว่าไก่ไข่ไว้ว่า อาจเกี่ยวข้องกับอายุการเริ่มให้ไข่ อัตราการให้ไข่ที่ต่ํา กว่า และอายุการปลดไก่ที่เร็วกว่า (อายุการปลดไก่พันธุ์เนื้อ ๖๓ สัปดาห์เปรียบเทียบกับไก่ไข่ ๗๕
บทสรุป
โรคกระดูกอกหักเป็นประเด็นปัญหาด้าน สวัสดิภาพสัตว์ในไก่ระยะการให้ผลผลิตไข่ ทั้งในไก่ไข่และไก่พันธุ์ ภายหลังจากคณะกรรมการ สวัสดิภาพสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม สหราชอาณาจักรเรียกร้องผู้ผลิตสัตว์ปีกให้เล็งเห็นถึงความสําคัญของปัญหานี้
เนื่องจาก สร้างความเจ็บปวดและทรมานต่อสัตว์อย่างมาก รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคกระดูกอกหักจึงเผยแพร่ตีพิมพ์จํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ วิธีการตรวจ ประเมินโรค และการศึกษาความชุกของโรคที่แท้จริง
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่และพันธุ์ไก่เนื้อ
โรคกระดูกอกหัก (Keel bone fractures, KBF) เป็นปัญหาด้านสุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ที่พบได้บ่อยที่สุดในการเลี้ยงไก่ไข่ โรคกระดูกอกหัก มีลักษณะสําคัญคือ การสร้างเนื้อเยื่อ กระดูกใหม่ (callus formation)
ซึ่งเป็นรอยโรคที่พบได้บ่อยในแม่ไก่ที่เลี้ยงแบบไม่ขับกรุง หรือสังเกตเห็นเป็นรอยหัก และ/หรือการหักหรือร้าวของกระดูกอก (keel) หรือศัพท์ทาง กายวิภาคศาสตร์เรียกว่า“สเตอร์นัม (sternum)” ปัญหานี้พบได้ทั่วโลก ในไก่ไข่ในทุกระบบ การผลิตไข่ไก่เชิงพาณิชย์ สาเหตุของโรคกระดูกอกหักในแม่ไก่ระหว่างให้ไข่ ยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันในวงการวิชาการ และสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ชัดเจน
โรคกระดูกอกหักในโก่ไข่
โรคกระดูกอกหักในไก่ไข่เป็นปัญหาสําคัญด้านสวัสดิภาพสัตว์ เนื่องจาก ส่งผลต่อการบาดเจ็บ และความ เจ็บปวดทรมานต่อสัตว์ จนทําให้สัตว์ลดการเคลื่อนที่จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และผลผลิตโดยตรงจาก ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนอาหารที่ไม่ดี อัตราการให้ไข่ และคุณภาพของไข่ลดลง ภายหลังจากข้อเรียกร้อง ของคณะกรรมการ FAWC ได้แนะนําให้เริ่มต้นด้วยการศึกษาแนวโน้มของความชุกของโรค ตามข้อเสนอให้ วางแผนการตรวจประเมินทั้งในไก่ไข่ปลดที่โรงเชือดโดยอาจเป็นทุกครั้ง หรือสุ่มเก็บตัวอย่างอย่างเป็นระบบ โดย การตรวจคลํา และ/หรือตรวจประเมินตัวอย่างกระดูกอกภายหลังตัดแยกออกจากตัวสัตว์แล้ว งานวิจัยต่างๆ ก็
เริ่มเผยแพร่ในวารสารวิชาการ การทดลองให้สารเดสโลเรลิน อะซิเตต ที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการไข่ พบว่า แม่ไก่ที่ ให้สารชนิดนี้จะไม่พบปัญหาโรคกระดูกอกหัก สําหรับ สารเดสโลเรลิน อะซิเตต เป็นฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รี ลีสซิ่ง ตามธรรมชาติ ฮอร์โมนชนิดนี้จะหลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของต่อมไร้
ท่อภายในร่างกายสัตว์ โดยฮอร์โมนชนิดนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นต่อมใต้สมองให้หลั่งฮอร์โมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลติ้ง หรือเอฟเอสเอช (Follicle stimulating hormone, FSH) และฮอร์โมนลูมิไนซิ่ง (Luteiniz ing hormone, LH)ผลการวิจัย พบความสัมพันธ์ระหว่างโรคกระดูกอกหัก และการให้ไข่ฟองแรกที่เร็วเกินไป แม่ไก่ตัวเล็ก และน้ําหนักไข่เฉลี่ยที่ออกมาชุดแรก ขณะที่ นักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่าไก่เพศผู้ไม่พบโรคกระดูกอกหัก บ่งชี้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคนี้กับการผลิตไข่ไก่ ความผิดปรกติของกระดูกอก
สามารถแบ่งได้เป็น การถูกทําลาย ผิดรูป และการหักของกระดูก โดยจําแนกสาเหตุของความผิดปรกติดังกล่าวได้ว่า การถูกทําลายผิดรูปของ กระดูกอก ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการเกาะคอน และคอนเกาะที่แข็ง หรือบางจนเกินไป
ขณะที่ การหัก ของกระดูกอกเป็นผลจากการกระแทกกับโครงสร้างโรงเรือน
โรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์
ชโกโมโดโกรกกะลnnel แม่ไก่พันธุ์สําหรับผลิตลูกไก่เนื้อ หรือไก่พันธุ์เนื้อ ก็ผลิตไข่เช่นเดียวกับไก่ไข่ ดังนั้น โรคกระดูกอกหักก็ สามารถพบได้ในแม่ไก่พันธุ์เนื้อ เช่นเดียวกันการเริ่มวางไข่ในไก่พันธุ์เนื้อช้ากว่าไก่ไข่ และไม่ผลิตไข่เป็นจํานวน มากเท่าไก่ไข่ นอกจากนั้น ไก่พันธุ์เนื้อมีโครงสร้างใหญ่กว่า และกล้ามเนื้ออกที่ขนาดใหญ่กว่ามาก ช่วยป้องกัน กระดูกอก และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ เนื่องจาก ขนาดร่างกายมีความสัมพันธ์กับโรคกระดูกอกหัก
รายงานวิจัยล่าสุด พบว่า ความชุกของโรคกระดูกอกหักในไก่พันธุ์เนื้อที่ครบอายุปลดแล้วทั้งสายพันธุ์โตเร็ว และโตช้า ในสายพันธุ์รอส ๓๐๘ แรงเจอร์โกลด์ และฮับบาร์ด เจเอ ๗๕๗ พบได้ระหว่างร้อยละ ๑๔ ถึง ๕๔ ต่ํากว่าที่เคยมีรายงานไว้ในไก่ไข่ที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีความชุกระหว่างร้อยละ ๘๕ ถึง ๙๙
โดยอธิบายสาเหตุ สําหรับความชุกของโรคในไก่พันธุ์เนื้อที่ต่ํากว่าไก่ไข่ไว้ว่า อาจเกี่ยวข้องกับอายุการเริ่มให้ไข่ อัตราการให้ไข่ที่ต่ํา กว่า และอายุการปลดไก่ที่เร็วกว่า (อายุการปลดไก่พันธุ์เนื้อ ๖๓ สัปดาห์เปรียบเทียบกับไก่ไข่ ๗๕
บทสรุป
โรคกระดูกอกหักเป็นประเด็นปัญหาด้าน สวัสดิภาพสัตว์ในไก่ระยะการให้ผลผลิตไข่ ทั้งในไก่ไข่และไก่พันธุ์ ภายหลังจากคณะกรรมการ สวัสดิภาพสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม สหราชอาณาจักรเรียกร้องผู้ผลิตสัตว์ปีกให้เล็งเห็นถึงความสําคัญของปัญหานี้
เนื่องจาก สร้างความเจ็บปวดและทรมานต่อสัตว์อย่างมาก รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคกระดูกอกหักจึงเผยแพร่ตีพิมพ์จํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ วิธีการตรวจ ประเมินโรค และการศึกษาความชุกของโรคที่แท้จริง
แหล่งที่มาข้อมูล นิตยสาร สัตว์บก ฉบับ ๓๕๗ มกราคม ๒๕๖๖
